Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTanapon Buakhumkroten
dc.contributorธนาพล บัวคำโคตรth
dc.contributor.advisorPaiboon Limmaneeen
dc.contributor.advisorไพบูลย์ ลิ้มมณีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:34Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:34Z-
dc.date.issued16/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1024-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract       The study of the development of teacher’s learning management in 21st Century by using the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 aims 1) to study the current state and desired condition of teacher’s development in learning management in 21st Century by using the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 2) to develop teacher’s learning management with the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 by using Research and Development (R&D), including 2 phrases which are Phrase 1, the study of the current state and desired condition of teacher’s development in learning management in 21st Century by using the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 and Phrase 2, the development of teacher’s learning management with the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33. In Phrase 1, the samplings used in this phrase are 350 teachers in Secondary Educational Service Area Office 33, collected by 5 research instrument experts. In phrase2, 2 Best Practice schools were used as the samplings by having evaluation from 5 Advisory level persons. The instruments used for data collection consist of evaluation form, survey, interview and the statistics used for data analysis such as percentage, mean and standard deviation.     According to the findings, it was found as follows.      1) the current state and desired condition of teacher’s development in learning management in 21st Century by using the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 in general is considered as high level arranging in ascending order, Activity Learning Management in 21st Century, Instructional Media in 21st Century, learning Evaluation in 21st Century, The Determined Learning’s objectives in 21st Century, The Use of Learning Management Feedback in 21st Century, The Learners’ Analysis of Learning Management in 21st Century and The Determined Learning Content in 21st Century respectively. Moreover, In general, the desired condition of teacher’s development in learning management in 21st Century by using the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 is on highest level arranging in ascending order as follows, The Determined Learning’s objectives in 21st Century, Learning Evaluation in 21st Century, The Use of Learning Management Feedback in 21st Century, Instructional Media in 21st Century, The Determined Learning Content in 21st Century and The Learners’ Analysis of Learning Management in 21st Century respectively.      2) It was found that the development of teacher’s learning management with the concept of DLIT Professional Learning Community (DLIT PLC) in Secondary Educational Service Area Office 33 by Advisory level persons has the suitability in general at the highest level and has the possibility in general at high level.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัย แนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ในครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 และ 2) พัฒนาแนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย 2 ระยะ คือระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ระยะที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญเครื่องมือการวิจัย จำนวน 5 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำนวน 350 คน และระยะที่ 2 สถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดีเยี่ยม (Best Practice) จำนวน 2 แห่ง ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินแนวทาง จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบประเมิน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า    1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 พบว่า สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การใช้ข้อมูลย้อนกลับในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การวิเคราะห์ผู้เรียนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามลำดับ และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ การกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การใช้ข้อมูลย้อนกลับในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการวิเคราะห์ผู้เรียนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามลำดับ    2. แนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางพัฒนาth
dc.subjectครูth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectTeacheren
dc.subjectLearning Management in the 21st Centuryen
dc.subjectProfessional Learning Communityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Guideline Development of Teachers, Learning Management In the 21st  century. by Applying the Professional Learning Community  Secondary Educational Service Area Office 33en
dc.titleแนวทางพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586009.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.