Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanida Buranromen
dc.contributorปนิดา บุราณรมย์th
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.issued27/4/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1029-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study current and desirable conditions, teacher learning management for schools. Under the Office of Primary Educational Area Mahasarakham District 1, 2) to develop a program to develop teachers in learning management for schools. Under the Office of Primary Educational Area Mahasarakham District 1. The research is divided into 2 phases. Phase 1: study current conditions And desirable conditions for learning management for schools Under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. The sample consisted of 324 School administrators and teachers. By comparing the total population with the sample size table of Krejcie and Morgan and using the Stratified Random Sampling Technique. Phase 2: Develop a teacher development program in learning management for schools under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. The informants were 1 school administrator and 1 academic teacher responsible for 2 schools. Draft of Teacher Development Program in Learning Management and investigated quality guidelines assessing appropriateness  and  feasibility by 5 qualified people. The research tools were questionnaire, Interview form, group conversation recording And the program evaluation form. Data was analysis consisted of the percentage, mean, standard deviation, Reliability and Techniques Modified Priority Needs Index (PNImodified). The research findings were as follows: 1. The current state of teacher development in learning management in overall is at a high level. The desirable conditions of teacher development in learning management for schools under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1 were at the highest level. 2. Teacher development program in learning management for schools Under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1, consisting of 5 components 1) Principle 2) Objective 3) Contents 4) development methods 5) evaluation From evaluating the suitability and the feasibility of the program at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้ของครูสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 324 คน โดยการเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดกับตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan และใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling Technique) ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน และครูผู้รับผิดชอบงานวิชาการ 1 คน จำนวน 2 โรงเรียน ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมินโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเชื่อมั่น และเทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันการจัดการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. โปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) วิธีการพัฒนา 5) การประเมินผล จากการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมโดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาครูth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectThe Development of Teacheren
dc.subjectLearning Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTeacher Development Program in Learning Management for Schools under the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1en
dc.titleโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586044.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.