Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRattasath Nopparatwongsakulen
dc.contributorรัฐศาสตร์ นพรัตน์วงศกุลth
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.issued13/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1031-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the current conditions, desirable conditions and needs on Student - Centered for Private schools, Kalasin Provincial Education Office 2) to develop teacher development programs in Student-Centered for Private schools, Kalasin Provincial Education Office. This research was conducted in two phases: phase 1, to study the current and desirable conditions on Student - Centered for Private schools, Kalasin Provincial Education Office. And Phase 2, the develop teacher development programs in Student-Centered for Private schools, Kalasin Provincial Education Office. The sample were Administrators and teachers in Private schools. There are 504 persons from the population of 1,069, Which was obtained from Krejcie & Morgan sample table by a Simple random sampling. The research instruments were questionnaires, Interview Form, group conversations, and Program Evaluation. And the statistical program evaluation questionnaire was mean, percentage, standard deviation, and the Modified Priority Needs Index (PNIModified) technique. The finding reveals that; 1. The current state of Student-Centered for Private schools Kalasin Provincial Education Office was overall at the moderate level. When considering each aspect, it was found that all aspects were also at a moderate level. As for the desirable condition of Student-Centered for Private schools Kalasin Provincial Education Office, was overall at a high level. When considering each aspect, it was found that the most demanded aspect is measurement and evaluation. Besides curriculum, instructor, learner, learning activity, media and teaching resources were at the high level. 2. Development of Teacher Program on Student-Centered for Private schools Kalasin Provincial Education Office consists of 1) Principle 2) Objectives 3) Course structure 4) Content 5) Method 6) Equipment/materials 7) Evaluation. The evaluation of Teacher Development Program on Student-Centered for Private schools Kalasin Provincial Education Office using a focus group method. Five experts have agreed with this program which overall probability in the program was at the highest level and the probability was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์  2) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ และระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูในสถานศึกษาเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 504 คน จากประชากรทั้งหมด 1,069 คน ซึ่งได้มาจากการเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดกับตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมินโปรแกรม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเทคนิค Modified Priority Needs Index (PNIModified)           ผลการวิจัยพบว่า           1. สภาพปัจจุบันด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามีระดับความต้องการมากที่สุด 1 ด้าน คือ ด้านการวัดและประเมินผล ส่วนด้านอื่น ๆ ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสื่อและแหล่งการสอน อยู่ในระดับมากทุกด้าน           2. โปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ มีองค์ประกอบดังนี้ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) โครงสร้างหลักสูตร 4) เนื้อหา 5) วิธี 6) อุปกรณ์/วัสดุ 7) การประเมินผล และการประเมินโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คนมีความเห็นว่าโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวมมีความเป็นไปได้ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมพัฒนาครูth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญth
dc.subjectโรงเรียนเอกชนth
dc.subjectDevelopment of Teacherprogramen
dc.subjectStudent-Centereden
dc.subjectPrivate Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Teacher Program on  Student-Centered For Private Schools Kalasin Provincial Education Officeen
dc.titleโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586053.pdf5.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.