Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuchanya Srisawangen
dc.contributorสุชัญญา ศรีสว่างth
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:35Z-
dc.date.issued23/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1032-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study the needs about the current and the desired conditions of the Knowledge Management Supporting The Learning Of Primary School Student Khonkhean District 5, and (2) to of guidelines for teacher development on Knowledge Management Supporting The Learning Of Primary School Student Khonkhean District 5. The teachers were selected by purposive sampling from 260 schools, Primary Schools Office Of Primary School Student Khonkhean District 5 . Research and Development are an application of Participatory Action Research. There are 331 participants. Three instrumentations are the following ; (1) questionnaire, 2) validity from IOC (Index of Item Objective Congruence) equal 0.79, and 3) alpha Coefficient equal 0.67. Statistics used for data analysis are percentage, mean and standard deviation. The results are as followed : 1. Result of the needs about the current and the desired conditions the Knowledge Management Supporting The Learning Of Primary School Student Khonkhean District 5. The reported that guidelines possibility, suitability and utility are at the most level. 2. Result of a use of a guidelines for teacher development on Knowledge Management Supporting The Learning Of Primary School Student Khonkhean District 5 by 5 experts and reported that the model’s possibility, suitability and utility are at the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของแนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 2) แนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จำนวน 260 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีจำนวน 331 คน ได้มาโดยวิธีการใช้ตารางสำเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี ประเภท 2 คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อใช้ในการสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของของแนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.79 มีค่าความเชื่อมั่น โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ด้วยวิธีของครอนบราค เท่ากับ 0.67 ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของแนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5  โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x=2.97) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของแนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x=3.79) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน   2. แนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5  มี  5 แนวทางด้านความกระตือรือร้น ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านความมีเหตุผล ด้านมุ่งมั่นในการเรียน และด้านความรับผิดชอบ ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้   โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน พบว่า มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ ระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้th
dc.subjectแนวทางการพัฒนาครูth
dc.subjectThe knowledge management supporting the learningen
dc.subjectguidelines for teacher developmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of guidelines for teacher development on Knowledge Management Supporting The Learning Of Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5en
dc.titleแนวทางการพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586065.pdf5.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.