Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhawinee Themeeyakoen
dc.contributorภาวิณี  เทมียโกth
dc.contributor.advisorTharinthorn Namwanen
dc.contributor.advisorธรินธร นามวรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:37Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:37Z-
dc.date.issued3/7/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1036-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aimed to : 1) To study the present and desirable of inclusive education management for school under Loei office of primary education service area 1 2) To study the development of inclusive education management a guideline for school under Loei office of primary education service area 1. The sample are administrators and teachers inclusive school under Loei office of primary education service area 1 for 391 people, 100 administrators and 291 teachers with purpose sampling. The tools used to collect data were elements and indicators assessment, the questionnaire, the structured interview and guideline assessment inclusive education management for school under Loei office of primary education service area 1. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The findings of this study were as follows : 1. The result of study the present of inclusive education management for school under Loei office of primary education service area 1 found that the present condition generally is most level 2. The result of guideline assessment for the development of inclusive education management a guideline for school under Loei office of primary education service area 1 It consists of 4 components which are 1) components of learner quality 2) elements of teaching and learning activities 3) elements of learning participation 4) elements of management and management processes and found that the general state of the suitability and feasibility is most level and each is most level also.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 2) พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 391 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 100 คน และครูผู้สอน จำนวน 291 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการศึกษาเรียนรวม 2) แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา 3) แบบสัมภาษณ์สถานศึกษาที่มีวิธีการปฏิบัติที่ดี (Best practice) ด้านการจัดการศึกษาเรียนรวม 4) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 5) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการจัดการศึกษาเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับน้อยและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการศึกษาเรียนรวมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านคุณภาพผู้เรียน 2) องค์ประกอบด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3) องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วมในการเรียนรวม 4) องค์ประกอบด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมth
dc.subjectThe Developmenten
dc.subjectInclusive Education Management a Guidelineen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Inclusive Education Management a Guideline for School under Loei Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580022.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.