Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1048
Title: The Development of Strategic SBM Model Management School under Department of Local Administration
การพัฒนากลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Authors: Kittiwat Tanapatyatin
กิตติวัฒน์ ธนพัฒน์โยธิน
Sutham Thamatasenahant
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนากลยุทธ์
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
Strategies Development
SBM Model Management
Issue Date:  11
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The present study aimed 1) to investigate the elements and indicators of SBM model management school under the department of local administration, 2) to study the currents situations, desirable situations and needs of SBM model management school under the department of local administration, 3) to develop the strategies of SBM model management school under the department of local administration, and 4) to evaluate the implementation of strategies of SBM model management school under the department of local administration. There were 4 phases of the study. Phase 1 was the study of the elements and indicators of SBM model management school under the department of local administration, there were 9 participants who were selected by purposive sampling and using group discussion to collect data. Phase 2 was the study of the currents situations, desirable situations and needs of SBM model management school under the department of local administration. The participants were 238 school administrators. Phase 3 was the development strategies of SBM model management school under the department of local administration by studying 9 schools where there was the best practicing selected by purposive sampling to propose the strategies. There were 10 experts who evaluate the suitability and possibility of the strategies. They were selected by purposive sampling using connoisseurship technique. Phase 4 was the implementation of the strategies of SBM model management school under the department of local administration. The participants were 20 consisted of school administrators and teachers in a school under the department of local administration selected by purposive sampling. The instruments used were group discussion note, evaluation form of the elements and indicators, the questionnaire of currents situations, desirable situations and needs, connoisseurship note, and the evaluation form of suitability and possibility of the strategies. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, index of item objective congruence, discrimination,   reliability and PNI modified. The results of the study revealed that: 1. The results of the elements and indicators of SBM model management school showed that there were 7 elements consisted of 1) decentralization aspect comprised of 10 indicators, 2) participation aspect comprised of 3 indicators, 3) self- administration aspect comprised of 11 indicators, 4) checking and balancing aspect comprised of 9 indicators, 5) formal education management aspect comprised of 9 indicators, 6) non- formal education management aspect comprised of 8 indicators, 7) informal education management aspect comprised of 7indicators. All of the elements and indicators were rated in more level. 2. The results of the currents situations of SBM model management school under the department of local administration  rated in more level, the results of desirable situations rated in the most level and the  priority of needs were shown as follows; 1) participation aspect, 2) decentralization aspect, 3) informal education management aspect, 4) formal education management aspect, 5) self- administration aspect, 6) checking and balancing aspect and 7) non- formal education management aspect. 3. The results of the strategies of SBM model management school under the department of local administration consisted of 5 strategies; 1) decentralization strategy comprised of 4 approaches, 2) participation strategy comprised of  3 approaches, 3) self- administration strategy comprised of 4 approaches, 4) checking and balancing strategy comprised of 4 approaches, 5) lifelong education strategy comprised of 8 approaches. The results of suitability and possibility evaluation were rated in more level. 4. The results of the implementation the strategies of SBM model management school under the department of local administration pointed out that the scores of knowledge after the development were higher with 0.5 significant level. The results of the processes during the implementation of the strategies showed that overall and each aspect were rated in more level, after the implementation the results rated in the most level. The results of satisfaction toward the strategies showed that overall rated in the most level.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบตัวบ่งชี้การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4) เพื่อประเมินผลการนำกลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปใช้ การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบตัวบ่งชี้การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และใช้เทคนิคการสนทนากลุ่ม ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 238 คน ระยะที่ 3 การพัฒนากลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีเป็นเลิศ จำนวน 9 โรงเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง ยกร่างกลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตรวจสอบยืนยัน ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน เลือกแบบเจาะจง โดยใช้เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 การนำกลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปใช้ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่  ผู้บริหารและครู โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 1 โรงเรียน จำนวน 20 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกสนทนากลุ่ม และแบบประเมินองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบบบันทึกการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญและแบบประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอำอาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการกระจายอำนาจ มี 10 ตัวบ่งชี้  2) ด้านการมีส่วนร่วม มี 10 ตัวบ่งชี้ 3) ด้านการบริหารจัดการตนเอง มี 11 ตัวบ่งชี้ 4) ด้านการตรวจสอบและถ่วงดุล มี 9 ตัวบ่งชี้ 5) ด้านการจัดการศึกษาในระบบ มี 9 ตัวบ่งชี้ 6) ด้านการจัดการศึกษานอกระบบ มี 8 ตัวบ่งชี้ 7) ด้านการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มี 7 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2. สภาพปัจจุบันของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และค่าดัชนีความต้องการจําเป็นของการพัฒนาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ด้านการมีส่วนร่วม ลำดับที่ 2 ด้านการกระจายอำนาจ ลำดับที่ 3 ด้านการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ลำดับที่ 4 ด้านการจัดการศึกษาในระบบ ลำดับที่ 5 ด้านการบริหารจัดการตนเอง ลำดับที่ 6 ด้านการตรวจสอบและถ่วงดุล และลำดับที่ 7 ด้านการจัดการศึกษานอกระบบ 3. กลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์หลักที่ 1) กลยุทธ์การกระจายอำนาจ ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์รอง 4 แนวปฏิบัติ กลยุทธ์หลักที่ 2) กลยุทธ์การมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์รอง 3 แนวปฏิบัติ กลยุทธ์หลักที่ 3) กลยุทธ์การบริหารจัดการตนเอง ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์รอง 4 แนวปฏิบัติ กลยุทธ์หลักที่ 4) กลยุทธ์การตรวจสอบและถ่วงดุล ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์รอง 4 แนวปฏิบัติ กลยุทธ์หลักที่ 5) กลยุทธ์การศึกษาตลอดชีวิต ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์รอง 8 แนวปฏิบัติ และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก 4. ผลการใช้กลยุทธ์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า คะแนนประเมินความรู้หลังการเข้าร่วมพัฒนาสูงกว่าคะแนนประเมินความรู้ก่อนการเข้าร่วมพัฒนา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และผลการประเมินการทำกิจกรรมตามกลยุทธ์โดยรวมรายด้านก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับและหลังการพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินระดับความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Doctor of Education (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1048
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010562009.pdf10.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.