Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChitchanok Tipsodaen
dc.contributorชิตชนก ทิพย์โสดาth
dc.contributor.advisorThapanee Seechaen
dc.contributor.advisorฐาปนี สีเฉลียวth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:39Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:39Z-
dc.date.issued2/4/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1050-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to: 1) investigate the required components and procedure of the information system development to support the academic staff’s performance evaluation in the Faculty of Engineering, Mahasarakham University; 2) create and develop a supportive information system; 3) evaluate the effectiveness of the supportive information system; and 4) examine the participant’s satisfaction toward the functionality of the information system. In this respect, the researcher utilized 5 concepts and theories to develop the information system including 1) Systems Investigation; 2) Systems Analysis; 3) Systems Design; 4) Systems Development; and 5) Systems Implementation.  Meanwhile, several research tools were used in this study comprising: 1) Semi-structured interview; 2) The developed information system; 3) The information system evaluation form; and 4) The evaluation form on the participant’s satisfaction on the information system. In term of data analysis, the researcher analyzed and synthesized the data in various aspects gained from the interview with 7 members of the faculty’s management team, the information system evaluation by 6 specialists, and the evaluation and satisfaction on the information system’s effectiveness by 40 participants. The result was given through a descriptive analysis, mean score, and standard deviation (S.D.) as follows.              1. According to the investigation on the information system procedures and procedures revealed that the four basic components of information systems., it was found that the basic components of the information system should be consisted of 4 key components: 1) Input including (1.1) Objectives; (1.2) Content (components, indicators, and criteria); (1.3) Tool; and (1.4) Evaluator; 2) Process including (2.1) System Operational Procedure; (2.2.) Data Collection; and (2.3) Data Analysis; 3) Output including (3.1) Staff’s Performance Evaluation Report; (3.2) Information System Quality; and (3.3) Participant’s Satisfaction on the Information System; and 4) Feedback including (4.1) Participant’s Feedback; and (4.2); Evaluator’s Feedback              2. The study outcome was resulted as the information system, this developed system was evaluated by the specialists in 2 issues including: 1) System Content – the system information system was rated with high score (X-bar = 4.14, S.D. = 0.49); and 2) System and Software Design – the information system was rated with highest score (X-bar = 4.14, S.D. = 0.49)             3. According to the evaluation on the information system, the system evaluators identically rated the information system with high score for all components including: 1) User Requirement Specification (X-bar = 4.15, S.D. =0.52); 2) System Functionality (X-bar = 4.07, S.D. =0.47); 3) Ease of Use (X-bar = 4.10, S.D.=0.40); 4) Effectiveness (X-bar = 4.13, S.D.=0.44); and 5) Data Safety (X-bar = 4.08, S.D.=0.49).             4. In term of the participant’s satisfaction on the information system, they were satisfied with the following issues: 1) Data Safety with highest score (X-bar = 4.63, S.D.=0.54); 2) Ease of Use with high score (X-bar = 4.44, S.D.=0.38); and 3) System Accuracy with high score (X-bar = 4.41, S.D.=0.34).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและขั้นตอนของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรสายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) เพื่อสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศฯ 3) เพื่อประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศฯ และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศฯ ผู้วิจัยได้นำขั้นตอนในการพัฒนาระบบตามแนวคิดในการพัฒนาระบบ ซึ่งประกอบด้วยหลักการพัฒนาระบบไว้  5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษา 2) การวิเคราะห์ระบบ 3) การออกแบบระบบ 4) การพัฒนาระบบ 5) การนำระบบไปใช้ มาใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2) ระบบสารสนเทศฯ 3) แบบประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศฯ 4) แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศฯ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในประเด็นต่างๆ จากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 7 คน การประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 6 คน การประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศ และการประเมินความพึงพอใจจากผู้ให้ข้อมูล จำนวน  40 คน แล้วนำมาเสนอในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบและขั้นตอนของระบบสารสนเทศฯ พบว่า องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสารสนเทศฯ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย (1.1) วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน (1.2) เนื้อหาในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน)  (1.3) เครื่องมือในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (1.4) ผู้ทำการประเมินผลการปฏิบัติงาน  2) ด้านกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย องค์ประกอบย่อย (2.1) กระบวนการทำงานของระบบ (2.2) เก็บรวบรวมข้อมูล (2.3) การวิเคราะห์ข้อมูล 3) ด้านผลผลิต (Output) ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย (3.1) รายงานผลการประเมินการปฏิบัติราชการฯ (3.2) คุณภาพระบบสารสนเทศฯ (3.3) ความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศฯ และ 4) ด้านข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย (4.1) การให้ข้อมูลย้อนกลับผู้ถูกประเมิน (4.2) ให้ข้อมูลย้อนกลับสำหรับผู้ประเมิน 2. ผลการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศฯ พบว่า ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น 1) ด้านเนื้อหา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.14 , S.D. = 0.49) และ 2) ด้านการออกแบบระบบสารสนเทศและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (X-bar = 4.95 , S.D. = 0.08) 3. ผลการประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศฯ พบว่า ผู้ประเมินมีความคิดเห็นต่อระบบสารสนเทศอยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ 1) ด้านตรงตามความต้องการ มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (X-bar= 4.15 , S.D.=0.52) 2) ด้านสามารถทำงานได้ตามหน้าที่ มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.07, S.D.=0.47) 3) ด้านความง่ายต่อการใช้งาน มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.10, S.D.=0.40) 4) ด้านประสิทธิภาพ มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.13, S.D.=0.44) และ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.08, S.D.=0.49) 4. ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศฯ พบว่า ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศ ดังนี้ 1) ด้านความปลอดภัยของข้อมูล มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (X-bar = 4.63 , S.D.=0.54) 2) ด้านความยากง่ายต่อการใช้ระบบ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X-bar =4.44, S.D.=0.38) และ 3) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.41 , S.D.=0.34)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาระบบสารสนเทศth
dc.subjectสนับสนุนการประเมินth
dc.subjectการประเมินผลการปฏิบัติราชการth
dc.subjectInformation System Developmenten
dc.subjectEvaluation Supporten
dc.subjectPerformance Evaluationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Information System to Support the Performance Evaluation of Academic Staff at the Faculty of Engineering, Mahasarakham Universityen
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรสายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010580009.pdf6.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.