Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPimchanok Nueangtabanen
dc.contributorพิมพ์ชนก เนื่องทะบาลth
dc.contributor.advisorDhanita Doungwilaien
dc.contributor.advisorดนิตา ดวงวิไลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:40Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:40Z-
dc.date.issued19/3/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1061-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were; 1) to develop ability in reading for main idea by using SQ4R activities of Prathomsuksa 3 students according to 70 percent of criterion, and 2) to explore studiousness of Prathomsuksa 3 students obtaining SQ4R activities. The focus group is a Prathomsuksa 3 classroom with 6 students of Banlerngtai School, Tambol Lerngtai, Kosum Pisai Distric, Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 3. The study was conducted with the action research with 3 circles as a research method. 12-hour circle lesson plans using SQ4R activities, students’ studiousness observation form, spiral quizzes, and a test of reading for main idea ability were conducted as research instruments. The statistics used for analyzing the collected data were mean, standard deviation, and percentage. The results of the study found that: 1) the average score on the test of reading for main idea ability for the focus group obtaining SQ4R activities was 83.33 percent, which was higher than the criterion, and also 2) the focus group showed gain in studiousness as a whole, with 80.56 percent of average score, at excellent level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีความมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ SQ4R ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ขึ้นไป 2) ศึกษาพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียน ที่ได้เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ SQ4R กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเลิงใต้ ตำบลเลิงใต้ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 จำนวน 1 ห้องเรียน 6 คน รูปแบบการวิจัยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีวงจรปฏิบัติการวิจัย 3 วงจร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R จำนวน 12 แผน เวลา 12 ชั่วโมง 2) เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียน แบบทดสอบท้ายวงจร และ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความ แบบสังเกตพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R พบว่า 1) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R นักเรียนร้อยละ 100 มีคะแนนเฉลี่ยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 83.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2) พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้เรียนรู้ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4R นักเรียนมีพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 80.56 อยู่ในระดับคุณภาพดีมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความth
dc.subjectพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้th
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4Rth
dc.subjectThe Development of Reading for Main Ideaen
dc.subjectLearning Inquiry Behavioren
dc.subjectUsing SQ4R Activitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Reading for Main Idea and Learning Inquiry Behavior of Prathomsuksa 3 Students Using SQ4R Activitiesen
dc.titleการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ4Rth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010585028.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.