Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJarunun Phapakdeeen
dc.contributorจารุนันท์ พาภักดีth
dc.contributor.advisorSumalee Chookhampaengen
dc.contributor.advisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:41Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:41Z-
dc.date.issued8/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1069-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis action research aims to develop the Interpret Data And Evidence Scientifically Competency of Grade 11 student that pass the criterion of 70 percent of full score, in order to pass the criterion of 70 percent of students using argument-driven inquiry model. Target group consisted of 17 students who has a Interpret Data And Evidence Scientifically Competency problem. The research instrument were 1) 9 lesson plans using argument-driven inquiry model 2) Interpret Data And Evidence Scientifically test 3) student’s learning behavior observation forms 4) student’s learning experience recording forms. The results from classroom action research revealed that: The target students who leaning using argument-driven inquiry model were obviously higher in the Interpret Data And Evidence Scientifically Competency of  17 students in the first loop there were 2 students second loop up to 5 students and in cycle third there were 16 students passed their criteria of 70% of full score. It showed that the using argument-driven inquiry model can develop the Interpret Data And Evidence Scientifically Competency.           en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้เรียนให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนที่มีปัญหาคะแนนสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง จำนวน 9 แผน 14 ชั่วโมง 2) แบบวัดสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และ 4) แบบบันทึกอนุทิน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 17 คน มีสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76 ในวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 29.41 และวงจรปฏิบัติการที่ 3 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 94.11 แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง สามารถพัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งth
dc.subjectInterpret Data And Evidence Scientifically Competencyen
dc.subjectargument-driven inquiry modelen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Interpret Data And Evidence Scientifically Competency of Grade 11th  student by using argument-driven inquiry modelen
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556003.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.