Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrerth Nasa-ngiumen
dc.contributorพฤทธิ์ นาเสงี่ยมth
dc.contributor.advisorJantima Polpinijen
dc.contributor.advisorจันทิมา พลพินิจth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Informaticsen
dc.date.accessioned2019-08-19T02:52:25Z-
dc.date.available2019-08-19T02:52:25Z-
dc.date.issued12/6/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/107-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this study were 1) To study of the formation of design and development of physical exercise interactive media for office syndrome therapy, based on the concept of Human-Centered Design (HCD), 2) To develop of physical exercise interactive media for office syndrome therapy which the quality is evaluated by experts, and 3) To investigate the satisfaction of the users to the physical exercise interactive media for office syndrome therapy. This study there are 2 sample groups as followed; 1) Sample groups for getting the data to design and development of physical exercise interactive media for office syndrome therapy, 2) Experimental group for assessing the experiment. The tools in this research were; (1) In-depth interview with expert group, (2) Questionnaire of user requirement, (3) The Kinect v2 set, (4) The Prototype of the physical exercise interactive media for office syndrome therapy, (5) The Interactive media quality assessment by experts, and (6) The Interactive media satisfaction assessment by users. From the study results, it was found that 1) The elements of design and developement of interactive media consist of (1) 3D Character and background design, (2) Text and sound design, (3) User Interface Design, and (4) Interactive Design. 2) The interactive media quality that was evaluated by 3 experts, it was found to be at an average score of 3.64, the content and formation were appropriate for the target audience and can be used to conduct a study on the sample group. 3) The study conducted on satisfaction, it was found that the sample group was satisfied with the interactive media at a high level with the average score of 4.14 This finding has important practical guideline for exercise to busy people, who may have no time to meet a rehabilitation professional.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบในการออกแบบและพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อการออกกำลังกายสำหรับการบำบัดโรคออฟฟิศซินโดรม ตามทฤษฎีการออกแบบที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human-Centered Design: HCD) 2) เพื่อพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อการออกกำลังกายสำหรับการบำบัดโรคออฟฟิศซินโดรม และรับผลการประเมินคุณภาพสื่อจากผู้เชี่ยวชาญ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อการออกกำลังกายสำหรับการบำบัดโรคออฟฟิศซินโดรม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบไปด้วย 1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลสำหรับการพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ และ 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สำหรับทดลองใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) แบบสัมภาษณ์สำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2) แบบสอบถามความต้องการสำหรับกลุ่มตัวอย่าง 3) อุปกรณ์คิเนค รุ่น Kinect v2 4) สื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบเพื่อการออกกำลังกายสำหรับการบำบัดโรคออฟฟิศซินโดรม 5) แบบประเมินคุณภาพสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 6) แบบประเมินความพึงพอใจต่อสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบสำหรับกลุ่มตัวอย่าง ผลของการวิจัยพบว่า (1) สื่อปฏิสัมพันธ์มีรูปแบบในการออกแบบและพัฒนา ประกอบไปด้วย 1) การออกแบบตัวละครและฉาก 3 มิติ 2) การออกแบบตัวอักษรและเสียง 3) การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ 4) การออกแบบการมีปฏิสัมพันธ์ (2) จากการประเมินคุณภาพของสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน พบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับดี ที่คะแนนเฉลี่ย 3.64 เนื้อหาและรูปแบบมีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สามารถนำไปใช้ในการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างได้ (3) จากการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบในระดับความพึงพอใจมาก ที่คะแนนเฉลี่ย 4.14 งานวิจัยนี้เป็นสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบที่สามารถนำการออกกำลังกายให้ผู้ที่ไม่มีเวลาไปพบนักกายภาพบำบัด สามารถออกกำลังกายได้ด้วยตนเองth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectออฟฟิศซินโดรมth
dc.subjectเวชศาสตร์ฟื้นฟูth
dc.subjectอุปกรณ์คิเนคth
dc.subjectสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบสำหรับการออกกำลังกายผ่านอุปกรณ์คิเนคth
dc.subjectการวิเคราะห์ความคล้ายคลึงth
dc.subjectOffice Syndromeen
dc.subjectRehabilitation Exerciseen
dc.subjectKinect Sensoren
dc.subjectBody Posture Measurementen
dc.subjectSkeletal Trackingen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleA Development of Physical Exercise Interactive Media for Office Syndrome Therapyen
dc.titleการพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อการออกกําลังกายสําหรับการบําบัดโรคออฟฟิศซินโดรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57011251002.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.