Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1083
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatthaphon Kuatthaien
dc.contributorณัฐพล กวดไทยth
dc.contributor.advisorSumalee Chookhampaengen
dc.contributor.advisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.issued16/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1083-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis action research aims to develop the modelling ability of grade 10 students who pass have scores which are more than 70 per cent by using model-based learning in biology. The target group consisted of 36 students who have modelling ability problem. Research instrument including 9 plans of instruction, 8 items of modelling ability test and modelling process assessment form. The data were analyzed by standard statistics that contain average, standard deviation and percentage. The finding showed that there are  29 36 and 36 students who have modelling ability scores which reach to minimum requirement at 70 percent after students learned by model-based learning in first second and third cycles respectively. The modelling ability in first second and third cycles is 24.86, 25.61 and 26.61 which account for 77.69 80.03 and 83.15 percent respectively. The previous data illustrate the number of students and modelling ability score is increase after learned by model-based learning. When considering the score from 1) modelling ability test after instruction, the average scores are 12.69 12.47 and 12.75 that accounts for 79.34 77.95 and 79.68 respectively. 2) The modelling process assessment, the average scores are 12.16 13.13 and 13.86 that account for 76.04 82.11 and 86.11 respectively.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการสร้างแบบจำลองของนักเรียนให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในรายวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนที่มีปัญหาความสามารถในการสร้างแบบจำลองจำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน จำนวน 9 แผน 14 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดความสามารถในการสร้างแบบจำลอง แบบประเมินกระบวนการสร้างแบบจำลอง และแบบสัมภาษณ์นักเรียน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า หลังจากที่นักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้มีนักเรียนที่มีคะแนนความสามารถในการสร้างแบบจำลองผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในวงจรปฏิบัติที่ 1 2 และ 3 คือ 29 36 และ 36 คน และมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการสร้างแบบจำลองในแต่ละวงจรปฏิบัติเท่ากับ 24.86 25.61 และ 26.61 คิดเป็นร้อยละ 77.69 80.03 และ 83.15 ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่านักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และคะแนนเพิ่มขึ้นเมื่อผ่านไปแต่ละวงจรปฏิบัติ เมื่อพิจารณาแยกออกเป็น 1) คะแนนจากแบบทดสอบความสามารถในการสร้างแบบจำลองมีคะแนนเฉลี่ยในวงจรปฏิบัติที่ 1 2 และ 3 เท่ากับ 12.69  12.47 และ 12.75 คิดเป็นร้อยละ 79.34 77.95 และ 79.68 ตามลำดับ และ 2) คะแนนจากการประเมินกระบวนการสร้างแบบจำลองโดยมีคะแนนเฉลี่ยในวงจรปฏิบัติที่ 1 2 และ 3 เท่ากับ 12.16 13.13 และ 13.86 คิดเป็นร้อยละ 76.04 82.11 และ 86.63 ตามลำดับ  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแบบจำลองเป็นฐานth
dc.subjectความสามารถในการสร้างแบบจำลองth
dc.subjectชีววิทยาth
dc.subjectการวิจัยปฏิบัติการth
dc.subjectmodel-based learningen
dc.subjectmodelling abilityen
dc.subjectbiologyen
dc.subjectaction researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment Modelling Ability of Grade 10 Students in Biology by Model-based Learning en
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสร้างแบบจำลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาชีววิทยา ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556032.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.