Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1084
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnubes Tassaniyomen
dc.contributorอนุเบศ ทัศนิยมth
dc.contributor.advisorSumalee Chookhampaengen
dc.contributor.advisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.issued18/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1084-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis classroom action research aimed to develop 10th graders' analytical thinking ability using phenomenon-based learning to meet the criteria of 75 per cent. The participants were 15 students from a total of 29 students in a classroom at Phadungnaree School, Mahasarakham Province, the academic year 2019. Data were collected from two instruments. Firstly, the 4 multiple-choice analysis test, not based on content. Secondly, the student interview consisting of 3 aspects: analytical thinking ability, the teaching and learning activities and the teacher's teaching. The results of the study revealed that the students who learned through the phenomenon-based learning management plan had the analytical thinking ability through the criteria of 75 per cent. There were 7 students passing the criteria in the first cycle and the target group of 8 people did not meet the criteria due to the duration of the activities. 2nd operation cycle, 12 students passing the criteria, and there are still 3 target group students who do not yet pass due to lack of motivation in teaching and learning activities. The operation cycle 3, all students passed the criteria due to the time in teaching and learning activities, enabling them to develop their ability to think analytically.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยปฏิบัติการในห้องเรียน มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 15 คน จากนักเรียนทั้งหมด 29 คน ณ โรงเรียนผดุงนารี จังหวัดมหาสารคาม ในปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลด้วยแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก ไม่อิงเนื้อหา และแบบสัมภาษณ์นักเรียนซึ่งประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และด้านครูผู้สอน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์ที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ที่ร้อยละ 75 โดยในวงรอบปฏิบัติการที่ 1 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 7 คน และพบว่านักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 8 คนไม่ผ่านเกณฑ์เนื่องจากระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เหมาะสม ส่วนในวงรอบปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 12 คน ยังเหลือนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์อีกจำนวน 3 คนเนื่องจากขาดแรงจูงใจในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน และในวงรอบปฏิบัติการที่ 3 พบว่านักเรียนกลุ่มเป้าหมายทุกคนผ่านเกณฑ์เนื่องจากระยะเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนการสอนทำให้สามารถพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ได้  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectปรากฏการณ์เป็นฐานth
dc.subjectวิจัยปฏิบัติการth
dc.subjectAnalytical Thinking Abilityen
dc.subjectPhenomenon-based Learningen
dc.subjectAction Researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping Analytical Thinking Ability of Mathayomsuksa 4 students in Biological Science Using Phenomenon-Based Learningen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556035.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.