Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKhrin Kanchaien
dc.contributorฆฤณ กันชัยth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:43Z-
dc.date.issued20/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1089-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study are to 1) develop learning achievement of Mattayom Suksa 4 students by using project-based learning in the criteria of 80%, 2) to develop innovative thinking of Mattayom Suksa 4 students by using project-based learning. The population of this study was Mattayom Suksa 4 students who were learned by project-based learning. The participants were 35 students who studied at 4/1 class, in academic year 2019 at Kantharawichai School, Maha Sarakham Province. The instruments used in this study were learning achievement test, task evaluation form, behavior observation form, an interview form. The content used in this study was in strand 4.1 entitled “Health-Strengthening Capacities and Disease Prevention”. The data was analyzed by statistics to find out mean, standard deviation, and percentage. The research findings indicated that 1. Learning achievement of Mattayom Suksa 4 students who were learned by project-based learning was evaluated by 2 phases. The findings found that, in phase 1, the mean score was 17.00 or 85.29%, and the standard deviation was 0.94. Meanwhile, in phase 2, the mean score was 17.51 or 87.43% and the standard deviation was 0.82. The findings were higher than the criteria of 80%. 2. Innovative thinking of Mattayom Suksa 4 who learned by project-based learning was evaluated by students’ tasks/productions. The findings found that the mean score was 15.70 or 87.30% out of 16, and the standard deviation was 0.55. The students’ innovative thinking was considered at a high level. Moreover, the students’ innovative thinking was evaluated by observing students’ behavior. The mean score was 17.03 or 94.64% out of 18 and the standard deviation was 0.55. The students’ innovative thinking was regarded as a good level. Besides, findings from the interview, it is indicated that students were able to describe the details in the content of health-strengthen capacities and disease prevention linking to current situations. Besides, the students were able to apply the process of working into life at school or way of life, imagine, and identify the advantages and disadvantages of how to work freely and work by orders. The students also had the cooperation to inquire about learning, follow the instruction until to the step of crafting, and then combined data from different situations properly.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2) พัฒนาการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 35 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน 12 แผนการเรียนรู้ แผนละ 1 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินชิ้นงาน/ผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และแบบสัมภาษณ์นักเรียน เนื้อหาในการวิจัย ได้แก่ สาระการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพสมรรถภาพและการป้องกันโรค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระยะเวลาในการวิจัย คือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน จากคะแนนหลังการจัดการเรียนรู้ วงรอบที่ 1 ได้คะแนนเฉลี่ย 17.00 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 85.29 ส่วนเบ่งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.94 และ วงรอบที่ 2 ได้คะแนนเฉลี่ย 17.51 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.43 ส่วนเบ่งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 2. ผลพัฒนาการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน จากการประเมินชิ้นงาน/ผลงาน แต่ละด้านอิงตามการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนหลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 15.70 จากคะแนนเต็ม 18 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.55 โดยอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 17.03 จากคะแนนเต็ม 18 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.64 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.55 โดยนักเรียนทุกคนมีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม การสัมภาษณ์ผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนสามารถบอกรายละเอียดของเนื้อหาวิชาสุขศึกษา ที่มีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน มีการพิจารณาในมุมมองที่แตกต่างและใช้ข้อมูลอย่างหลากหลาย นำกระบวนการทำงานไปประยุกต์ใช้ในชีวิตการเรียน บอกประโยชน์ของการทำงานที่ไม่ต้องมีกฎเกณฑ์ และสามารถจำแนกข้อดี ข้อเสีย ของการทำงานอย่างเสรีกับการทำงานตามคำสั่ง มีการร่วมมือกันในการสืบเสาะ ปฏิบัติตามขั้นตอน และมีการระบุแหล่งเรียนรู้หลากหลายทั้งในท้องถิ่น สู่ขั้นตอนของการปั้นแต่ง มีการหลอมรวมความคิดที่ขัดแย้งกันจากสถานการณ์ที่กำหนดได้อย่างเหมาะสมth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานth
dc.subjectการคิดเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectProject-based Learningen
dc.subjectInnovative Thinkingen
dc.subjectLearning Achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA Development of Achievement and Innovative Thinking of Mathayom Suksa 4 Students by Project-based Learningen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010585508.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.