Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAtit Choenkhwanchaien
dc.contributorอธิษฐ์ เชิญขวัญชัยth
dc.contributor.advisorThanadol Phuseeriten
dc.contributor.advisorธนดล ภูสีฤทธิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:46Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:46Z-
dc.date.issued14/5/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1111-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study are (1) to find the efficiency of Collaborative Learning Development by Means of STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students based on the 80/80 criteria;  (2) to find the effectiveness index outcome of the STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students; (3) to compare the testing scores between pre-test and post-test scores,  by employing the STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students , to the determined criteria; (4) to study group process skills, applying the STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students and (5) to study student satisfaction towards the STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students of Kalasinpittayasai School, Kalasin Province, with 48 students. Sampling was conducted by means of benchmarking against the school criteria. Tools of this study include 4 items, namely, the efficiency of STAD-Cooperative Learning Method applying Augmented Reality Technology, the effectiveness index outcome, the comparison of learning achievements and a satisfaction evaluation form. Statistics for data analysis comprise of Mean and S.D. and a statistic for hypothesis testing is T-Test (Dependent Samples). The statistical significance was determined at 0.05. Results of the study appeared that: 1. the efficiency of Collaborative Learning Development by Means of STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students, equals to 84.79/80.69, which is in line with the determined criteria. 2. the effectiveness index outcome on learning of the students studying with the Collaborative Learning Development by Means of STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students, equals to 0.6538 or 65.38% 3. the comparison of learning achievements between pre-learning and post-learning by means of  Collaborative Learning Development by Means of STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Students, showed there is a significant difference at the point 0.05, pre-learning (x̅ = 15.63) and post-learning (x̅ = 24.21). 4. To what extent, studying the group process skills of the students learning with the outcomes are on the High Levels; s are between 4.06-4.58 and the average is 4.33. Comparing the outcomes to the criteria, it was found that the group process skills of those learning with STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” are on the High Levels. 5. totally, the Prathom 6 Students have been very satisfied with STAD Technique Supplemented with Augmented Reality Books Entitled “Human Growth and Development” (x̅ = 4.86).en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อหาประสิทธิภาพของ การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (3) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับเกณฑ์ที่กำหนด (4) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการกลุ่ม โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียน  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามี 4 ชนิด คือ ประสิทธิภาพของการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) ค่าดัชนีประสิทธิผล การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะกระบวนการกลุ่ม และแบบวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานได้แก่ t-test (Dependent Samples) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาพบว่า 1. ประสิทธิภาพของการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.79/80.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลในการเรียนของนักเรียนที่มีเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.6538 คิดเป็นร้อยละ 65.38 3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียน (x̅ = 13.25) หลังเรียนเรียน (x̅ = 24.21) มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. การศึกษาทักษะกระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.33)  5. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (x̅ = 4.86)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STADth
dc.subjectเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR)th
dc.subjectSTAD-Cooperative Learning Methoden
dc.subjectAugmented Reality Technologyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleCollaborative Learning Development by Employing STAD Technique and Supplementing with Augmented Reality-Applied Books Entitled “Human Growth and Development” for Prathom 6 Studentsen
dc.titleการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ประกอบหนังสือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010586033.pdf6.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.