Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1117
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jiradach Klakayun | en |
dc.contributor | จิระเดช กล้าขยัน | th |
dc.contributor.advisor | Pacharawit Chansirisira | en |
dc.contributor.advisor | พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:26:47Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:26:47Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1117 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this study were 1) to investigate the current situations, desirable situations and needs of teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province, 2) to develop the guidelines to enhance teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province. The study was divided into 2 phases; phase 1 was the study of the current situations, desirable situations and needs of teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province. The sample was 212 consisted of teachers under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province. The instruments used were questionnaire. Phase 2 was the developing guidelines, the participants who suggested the guidelines were 9 consisted of school administrators and teachers in non-formal and informal Education district centers in Kalasin province. The participants who evaluated the guidelines were 5 comprised of Educational administrators and school administrators. The instruments used were interview questions and evaluation form. The data were analyzed by using percentage, mean and standard deviation. The results of the study revealed that 1. The currents situations of teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province shown that overall rated in moderate level, when considered into each aspect yielded that ethics and professional ethics was rated in more level. The rest of aspects rated in moderate level which could be ranged according to the highest mean as follows; student development, classroom management, educational innovation and technology, learning and curriculum management, and assessment and evaluation respectively. The desirable situations of teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province pointed out that overall rated in the most level, when considered into each aspect revealed that all aspects rated in the most level which could be ranged according to the highest mean as follows; ethics and professional ethics, classroom management, student development, educational innovation and technology, learning and curriculum management and assessment and evaluation respectively. 2. The guidelines to enhance teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province revealed that the elements of the guidelines consisted of 6 elements and 26 guidelines as follows; 1) ethics and professional ethics included 4 guidelines, 2) assessment and evaluation included 3 guidelines, 3) educational innovation and technology consisted of 5 guidelines, 4) learning and curriculum management included 3 guidelines, 5) classroom management included 4 guidelines, 6) student development comprised 6 guidelines. The results of the appropriateness and the possibility of the guidelines for teachers’ expertise under non-formal and informal Education district centers in Kalasin province pointed out that overall rated in the most level, when considered into each aspect revealed that all aspects were appropriated and possible rated in the most level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครู กศน. ในสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 212 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทาง ผู้ให้ข้อมูลในการพัฒนาแนวทาง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และครู กศน. จำนวน 9 คน ผู้ให้ข้อมูลในการประเมินแนวทาง ได้แก่ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 5 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันของสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามี 1 ด้านอยู่ในระดับมาก คือด้าน จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ส่วนที่เหลืออีก 5 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาผู้เรียน ด้านบริหารจัดการห้องเรียน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามลำดับ สภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกัน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ รองลงมา คือ ด้านบริหารจัดการห้องเรียน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากันกับด้านการพัฒนาผู้เรียน รองลงมา คือ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามลำดับ 2. แนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า ประกอบไปด้วย 6 องค์ประกอบ 26 แนวทาง ได้แก่ 1) จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 4 แนวทาง 2) การวัดและประเมินผล 4 แนวทาง 3) นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5 แนวทาง 4) การบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนรู้ 3 แนวทาง 5) บริหารจัดการห้องเรียน 4 แนวทาง 6) การพัฒนาผู้เรียน 6 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การสั่งสมความเชี่ยวชาญ | th |
dc.subject | การเสริมสร้างสมรรถนะ | th |
dc.subject | Teacher’ Expertise | en |
dc.subject | Competency Enhancing | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Developing Guidelines to Enhance Teacher’s Expertise under Non-formal and Informal Education Centre in Kalasin Province | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพของครู ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในจังหวัดกาฬสินธุ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61010586044.pdf | 5.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.