Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTanapat Anuweten
dc.contributorธนพรรธ อนุเวชth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:51Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:51Z-
dc.date.issued18/4/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1146-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were: 1) to examine the current, and desirable conditions to enhance work motivation of teachers in Secondary Educational Service Area Office Roi Et; and 2) to determine the guidelines to enhance work motivation of teacher in Secondary Educational Service Area Office Roi Et. This research study was conducted through two phases. An investigation of the current and desirable conditions to enhance work motivation and the needs to motivate teachers in Secondary Educational Service Area Office Roi Et to improve their performance were conducted during the first phase. Then, upon the second phase the guidelines to enhance work motivation of teacher in Secondary Educational Service Area Office Roi Et were established. 335 participants in this study were selected by stratified random sampling, and 5-level estimation scale questionnaire was used as a data collection instrument. In order to establish the guidelines for enhancing work motivation of teachers in Secondary Educational Service Area Office Roi Et, 5 qualified experts were recruited through purposive sampling, and suitability and possibility assessments form was employed in the operation. Descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation were computed in addition to the calculation of priority needs index to perform data analysis. The following findings were found in the result of this study. 1. The overall opinions concerning the current, and desirable conditions to enhance work motivation of teachers in Secondary Educational Service Area Office Roi Et were found to be at the moderate level. In addition, the desirable conditions could be observed at highest level. Furthermore, the priority needs order including: 1) human relation in organization; 2) work description; 3) salary, welfare and reward; 4) work achievement; and 5) promotion and progress on duty were ranked respectively. 2. The guidelines to enhance work motivation of teacher in Secondary Educational Service Area Office Roi Et could be established consisting of five aspects as follows: 1) human relation in organization; 2) work description; 3) salary, welfare and reward; 4) work achievement; and, 5) promotion and progress on duty. These five aspects could be elaborated into thirty detailed guidelines for enhancing teachers’ work motivation to achieve better performance. The degree of suitability and possibility of this present of guidelines were ranked at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ  ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์  และความต้องการจำเป็นของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด  ขาราชการครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต  27  ปการศึกษา 2563 จํานวน  335  คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน  ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบันของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความต้องการจำเป็นในการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านความสัมพันธ์ในองค์กร 2) ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ 3) ด้านเงินเดือน สวัสดิการและการให้รางวัล 4) ด้านความสำเร็จในการทำงาน 5) ด้านความก้าวหน้าในหน้าที 2. แนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความสัมพันธ์ในองค์กร 2) ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ 3) ด้านเงินเดือน สวัสดิการและการให้รางวัล 4) ด้านความสำเร็จในการทำงาน 5) ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่ ทั้ง 5 ด้านมีแนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูรวมทั้งสิ้น 30 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการเสริมสร้างแรงจูงใจth
dc.subjectการปฏิบัติงานth
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectEnhancing Motivationen
dc.subjectPerformanceen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleThe Enhancing Motivation Guidelines For Teacher  Performance Under Secondary Educational Service Area Office Roi Eten
dc.titleแนวทางการสร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586021.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.