Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPornsuda Prasertnooen
dc.contributorพรสุดา ประเสริฐนูth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:51Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:51Z-
dc.date.issued29/3/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1149-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aimed to 1) study the current state, desirable state and priority needs index of guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 2) development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2. The study divided to 2 phases, the first phase was study the current state, desirable state and priority needs index of guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 from 327 samples of administrators and teachers under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2. The second phase was development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 in schools that there are 3 schools gave the information about best practice, assessed the suitability and possibility of guidelines by 5 luminaries. Research instruments were questionnaires, interview forms and evaluation forms. Descriptive statistics used in this study were mainly percentage, mean, standard deviation and modified priority needs index. The result were found: 1. The current condition of team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 was at the high level and the desirable condition of team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 was at the highest level. The result of priority needs index of development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 by sorting the priority needs index from descending order were as follows: 1) planning 2) forming and evaluation 3) norming and 4) performing.  2. The development of team building’s guideline for school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 consisted of 5 factors and 40 guidelines. There were 5 guidelines of forming, 8 guidelines of norming, 11 guidelines of planning, 9 guidelines of performing and 7 guidelines of evaluation. The result of suitability and possibility assessment of the guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 found that the guidelines has suitability overall at highest levels and the possibility of guidelines overall at high level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2  การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 จำนวน 327 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ศึกษาสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 มีความต้องการโดยเรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ลำดับที่ 1 ด้านการวางแผน ลำดับที่ 2 ด้านการก่อตั้งทีมและด้านการประเมินผล  ลำดับที่ 3 ด้านการสร้างบรรทัดฐาน และ ลำดับที่ 4 ด้านการปฏิบัติงาน ตามลำดับ  2. การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ประกอบด้วย 5 ด้าน 40 แนวทาง ได้แก่ 1) ด้านการก่อตั้งทีม มี 5 แนวทาง 2) ด้านการสร้างบรรทัดฐาน มี 8 แนวทาง 3) ด้านการวางแผน มี 11 แนวทาง 4) ด้านการปฏิบัติงาน มี 9 แนวทาง 5) และด้านการประเมินผล มี 7 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการสร้างทีมงานth
dc.subjectผู้บริหารth
dc.subjectDevelopment Guidelinesen
dc.subjectTeam Buildingen
dc.subjectAdministratoren
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Developing Guideline of Team Building  for School Administrators Under The Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586039.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.