Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChuichai Suriwongkhanen
dc.contributorฉุยฉาย สุริวงขันth
dc.contributor.advisorMaliwan Tunapanen
dc.contributor.advisorมะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2021-09-05T14:29:16Z-
dc.date.available2021-09-05T14:29:16Z-
dc.date.issued25/8/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1157-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) Develop a STAD learning management plan for Mathayomsuksa 3 for efficiency in accordance with the criteria 75/75. 2) to find the effectiveness index of STAD learning management plan on statistics Mathayomsuksa 3. 3) Compare academic achievement and ability to interpret and present mathematics. Between STAD learning and normal learning management. 4) To study the persistence of learning of students who study by STAD learning management on statistics. Grade 3 The sample group used in the research was mathayomsuksa three students in Buengkan School. Mueang Bueng Kan District In the second semester of the 2017 academic year, 88 students from 2 rooms were assigned by Cluster Random Sampling as follows: The experimental group received mathematics instruction by using plan and learning with STAD learning management. Teaching mathematics by using plans and learning with normal learning management. The number of research instruments were 18 STAD learning management plans The normal learning management plan consisted of 18 learning achievement test plans. Is a test of 4 types of choice, consisting of 30 items. Assessment ability in the interpretation and presentation of mathematics, 10 items. The statistics used are percentage, mean, standard deviation and hypothesis testing using Hotelling - T2. The results of the research are as follows: 1) STAD learning management plan on Mathayomsuksa 3 statistics that the researcher created Effective (E1 / E2) equals 78.05 / 76.67. 2) The effectiveness of STAD learning management plan on Mathayomsuksa 3 statistics is 0.6460 or 64.60%. 3) Mathayomsuksa 3 students who study by learning management. Knowing STAD with academic achievement The ability to communicate interpretations and mathematical presentations on statistics is higher than the students learning by normal learning management. 4) Students who received STAD learning activities had no difference in achievement after 2 weeks of study and after studying after 2 weeks. Show that students are durable in learning. Therefore should encourage and support teachers to use this learning method continuously.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่องสถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) หาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการสื่อความหมายและการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบ STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 4) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบึงกาฬ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 88 คน จาก 2 ห้อง ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ดังนี้ กลุ่มทดลอง ได้รับการสอนคณิตศาสตร์ด้วยการใช้แผนและเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มควบคุมได้รับการสอนคณิตศาสตร์ด้วยการใช้แผนและเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD  จำนวน 18 แผน แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำนวน 18 แผน แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ แบบประเมินความสามารถในการสื่อความหมายและนำเสนอทางคณิตศาสตร์ จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Hotelling-T2 ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่องสถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ (E1/E2)เท่ากับ 78.05/76.67 2) ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD เรื่องสถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 0.6460 หรือคิดเป็นร้อยละ 64.60 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการสื่อความหมายและการนำเสนอทางคณิตศาสตร์  เรื่องสถิติ สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนและหลังเรียนผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน แสดงว่านักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู้ จึงควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูนำวิธีการจัดการเรียนรู้นี้ไปใช้อย่างต่อเนื่องth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบ STADth
dc.subjectการสื่อความหมายและการนำเสนอทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectSTAD learning managementen
dc.subjectInterpretation and mathematical presentationsen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleThe comparison of mathematical achievement and the ability in mathematical communication and presentation on Statistic for Mattayomsuksa 3 students between STAD and tradition at learning activities approachen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการสื่อความหมายและนำเสนอทางคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบ STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010283001.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.