Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWirasit Matamphonen
dc.contributorวิระสิทธิ์ มาตอำพรth
dc.contributor.advisorMaliwan Tunapanen
dc.contributor.advisorมะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2021-09-05T14:29:17Z-
dc.date.available2021-09-05T14:29:17Z-
dc.date.issued3/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1162-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe mathematics learning activities using problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 students is another style can develop the ability to solve mathematical problems, team work, and communicating effectively with others. The objective of the study were 1) to development of mathematics learning activities using problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 students as 75/75 of the criteria. 2) to study the effectiveness index of Problem-based learning in thought of the lesson study model on percentage application for Prathomsuksa 6 students. 3) to compare the effects of learning achievement in percentage application for  Prathomsuksa 6 students taught by Problem-based learning in thought of the lesson study on the criteria (75 percent). 4) to compare the ability in solve mathematical problems of Prathomsuksa 6 students in the subject of the percentage application for Prathomsuksa 6 students taught by Problem-based learning in thought of the lesson study on with criteria (75 percent). 5) to study retention in learning taught by Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 students. The samples in the study were Prathomsuksa 6 students in Dongphayungsongkhor school, Donchan, Kalasin, enrolled in semester 2, 2019, selected amount 30 people from 1 school by cluster random sampling. The research instruments were lesson plans using Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 students amount 20 plans at the most appropriate level. The before and after study-tests and test of learning retention in the subject of application percentage for Prathomsuksa 6 multiple-choice amount 30 items with reliability of 0.94. The problem-solving ability test in mathematics in the subject of percentage application for Prathomsuksa 6 of 10 questions with reliability of 0.92. Data were analyzed using percentage, average and standard deviation. T – test (one sample) and T–test (Dependent Samples) The results of study were shown that: 1. Efficiency of lesson plans which used Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 which the researcher created was 78.45/78.11. Moreover, it was higher than the criterion set at 75/75. 2. The effectiveness Index of Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 was 0.5364 which has learning progress 53.64 percent 3. The achievement of the students who studied by Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 with an average score of 23.43 which is higher than the criteria (75 percent), at .05 level of significance. 4. The students taught by Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 with an average score of ability to solve mathematical problems is 39.33 which is higher than the criteria (75 percent), at .05 level of significance. 5. The students taught by Problem-based learning in thought of the lesson study on percentage application for Prathomsuksa 6 with an average score of retention in learning is 23.10 which is retention in learning, at .05 level of significance.en
dc.description.abstractการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการศึกษาชั้นเรียน เป็นรูปแบบหนึ่งที่สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ทำงานเป็นกลุ่ม การสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การวิจัยครั้งนี้ความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่อง การประยุกต์ร้อยละ กับเกณฑ์ (ร้อยละ 75) 4) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่อง การประยุกต์ร้อยละ กับเกณฑ์ (ร้อยละ 75) 5) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงพยุงสงเคราะห์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน  ซึ่งได้มาการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการศึกษาชั้นเรียน เรื่อง การประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 18 ชั่วโมง อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบทดสอบวันผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความคงทนในการเรียนรู้ เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบปรนัย จำนวน 30 ข้อ โดยมีค่าความเชื่อมั่น 0.94 และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบอัตนัย จำนวน 10 ข้อ โดยมีค่าความเชื่อมั่น 0.92 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t – test (one sample) และ t–test (Dependent Samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.45/78.11 เป็นไปตามที่กำหนดไว้ คือ 75/75 2. ดัชนีประสิทธิ์ผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.5364 ซึ่งมีความหน้าทางการเรียนร้อยละ 53.64 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉลี่ยเท่ากับ 23.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยเฉลี่ยเท่ากับ 39.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนหลังเรียน 14 วัน โดยเฉลี่ยเท่ากับ 23.10 ซึ่งไม่แตกต่างกับคะแนนทดสอบหลังเรียน ดังนั้นจึงมีความคงทนในการเรียนรู้อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียนth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectความคงทนในการเรียนรู้th
dc.subjectProblem-based learning (PBL) together with lesson study modelen
dc.subjectachievementen
dc.subjectability to solve mathematical problemsen
dc.subjectretention in learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Mathematics Learning Activities Using Problem-Based Learning (PBL) Together with Lesson Study on Application Percentage for Prathomsuksa 6 Studentsen
dc.titleการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ร่วมกับแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน (Lesson study) เรื่องการประยุกต์ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010283018.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.