Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaruedee Poonkasemen
dc.contributorณฤดี พูลเกษมth
dc.contributor.advisorJindawan Wibuloutaien
dc.contributor.advisorจินดาวัลย์ วิบูลย์อุทัยth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-09-05T15:47:05Z-
dc.date.available2021-09-05T15:47:05Z-
dc.date.issued10/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1217-
dc.descriptionDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of the one group  quasi-experimental research was to study the ergonomics management protect related factors of musculoskeletal disorders among solid waste collectors of 42 waste collectors of local administrative organizations in Sung Noen District Nakhon Ratchasima province. The instrument was a questionnaire constructed and the health education program ergonomics applying self-efficacy theory by the researcher. Percentage, Mean, Standard deviation, paired sample t-test were applied for data analysis. The research revealed that after receiving the health education program ergonomics applying self-efficacy theory, the waste collectors have knowledge of ergonomics had significantly better perceived self efficacy, outcome expectation and health behavior than before receiving the health education program ergonomics. In addition, a degree of severity skeletal musculoskeletal disorders decrease before receiving the health education program ergonomics. The results suggest that the health education program ergonomics applying self-efficacy theory It can make the waste collectors  develop self-care behavior. And can reduce musculoskeletal disorders can. Therefore, this program should be applied for further application in other groups.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการด้านการยศาสตร์เพื่อป้องกันอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกโครงร่างของพนักงานเก็บขนขยะ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่พนักงานเก็บขนขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาจำนวน ทั้งสิ้น 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมได้แก่ แบบสอบถาม และโปรแกรมสุขศึกษาด้านการยศาสตร์ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถแห่งตน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired  sample t-test ผลการศึกษา พบว่า  ภายหลังการได้รับโปรแกรมสุขศึกษาด้านการยศาสตร์ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถแห่งตน พนักงานเก็บขนขยะมีความรู้ด้านการยศาสตร์ การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมสุขภาพ ดีกว่าก่อนการได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และระดับความรุนแรงอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกโครงร่าง ลดลงก่อนการได้ได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลวิจัยชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมสุขศึกษาด้านการยศาสตร์ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถแห่งตน สามารถทำให้พนักงานเก็บขนขยะเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเอง และสามารถลดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกโครงร่างได้ จึงควรจะนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มอื่นๆ ต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการด้านการยศาสตร์th
dc.subjectความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างth
dc.subjectโปรแกรมสุขศึกษาด้านการยศาสตร์ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถแห่งตนth
dc.subjectพนักงานเก็บขนขยะth
dc.subjectErgonomics managementen
dc.subjectmusculoskeletal disordersen
dc.subjectthe health education program ergonomics applying self-efficacy theoryen
dc.subjectsolid waste collectorsen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.title Ergonomics Management Protect Related Factors of Musculoskeletal Disorders among Solid Waste Collectors of Local Administrative  Organizations in Nakhon Ratchasima Provinceen
dc.titleการจัดการด้านการยศาสตร์ เพื่อป้องกันอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกโครงร่างของพนักงานเก็บขนขยะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011460002.pdf6.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.