Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1218
Title: Health Risk Assessment Associated with Heavy Metals Contaminated Vegetable Consumption:  A Case Study in the Southern Area of Northeastern of Thailand
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคผักที่มีการปนเปื้อนโลหะหนัก:กรณีศึกษาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย
Authors: Sumaporn Tongprung
สุมาพร ทองปรุง
Jindawan Wibuloutai
จินดาวัลย์ วิบูลย์อุทัย
Mahasarakham University. The Faculty of Public Health
Keywords: การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ
โลหะหนัก
บริโภคผัก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย
Health Risk Assessment
Heavy Metals
Vegetable Consumption
The Southern Area of Northeastern of Thailand
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This mixed methods research aimed to determine heavy metals  exposure and health risk assessment based on consumption of lead contaminated leaf vegetables. Five species of leaf vegetables including Chinese kale, cabbage, Chinese cabbage, lettuce and parsley sold in fresh market in the southern area of northeastern of Thailand were collected. Vegetable consumption of 3,831 public inquiries were calculated. The results showed that Chinese kale had the highest average lead contamination, 0.009±0.015 mg/kg DW, followed by Chinese cabbage (0.005±0.01 mg/kg DW), cabbage (0.004±0.003 mg/kg DW), lettuce (0.003±0.003 mg/kg DW) and parsley (0.001±0.01 mg/kg DW) respectively, For the assessment results of margin of safety values according to leaf consumptions were between 0.000045-0.001223269,which no significant health risk. Geographical data shows the altitude of the area in the lower northeastern 8 provinces had the minimum altitude of 95 meters at Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Province, and the maximum altitude of 450 meters at Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province.
การศึกษาในครั้งนี้เป็นวิจัยแบบผสมผสาน  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณการได้รับสารโลหะหนักและประเมินความเสี่ยงจากการบริโภคผัก จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ ผักคะน้า กะหล่ำปลี ผักกว้างตุ้ง ผักกาดหอม และผักชีฝรั่งที่วางจำหน่ายในตลาดเทศบาล ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยสอบถามข้อมูลการบริโภคผักประชาชน รวมทั้งหมด 3,831 คน และสอบถามการใช้สารเคมีของเกษตรกรจำนวน 8  จังหวัด ผลการศึกษาพบว่า การปนเปื้อนเฉลี่ยของตะกั่วในผักคะน้า มาจากกลุ่มตัวอย่างผักในตลาดสด มากที่สุด 0.009±0.015 มิลลิกรัม/กิโลกรัม รองลงมาได้แก่ ผักกวางตุ้ง กะหล่ำปลี ผักกาดหอม และผักชีฝรั่ง มีปริมาณตะกั่วปนเปื้อนเท่ากับ 0.005±0.01, 0.004±0.003, 0.003±0.003 และ 0.001±0.01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ เมื่อประเมินค่าความปลอดภัย (HQ) จากการบริโภคผักดังกล่าวพบว่าอยู่ในช่วง 0.000045-0.001223269  ซึ่งหมายถึงไม่มี[H1] [H2] ภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  ข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์มาจากกลุ่มตัวอย่างคือเลือกจากจังหวัดแต่ละแห่งเป็นพื้นที่เพาะปลูกหลักแสดงระดับความสูงของพื้นที่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 8 จังหวัด ระดับความสูงต่ำสุด 95  เมตร ณ อำเภอ วารินชำราบ จังหวัด อุบลราชธานี  และระดับความสูงสุด 450 เมตร ณ อำเภอ ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
Description: Doctor of Public Health (Dr.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1218
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011460007.pdf13.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.