Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKritsana Chaiyaphumen
dc.contributorกฤษณา ชัยภูมิth
dc.contributor.advisorWisit Thongkumen
dc.contributor.advisorวิศิษฎ์ ทองคำth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-09-05T15:47:06Z-
dc.date.available2021-09-05T15:47:06Z-
dc.date.issued27/5/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1222-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis Quasi-Experimental research two groups pretest-posttest design aimed to study the effectiveness of program for health literacy development in drowning prevention by primary school student, Grade 6. The sample of the study consisted of 33 students from Mahasarakham University Demonstration School (Elementary) to the experimental group and 33 students from Mahasarakham Rajabhat University demonstration school to the control group. The students were randomly assigned. The experimental group participated in health literacy development in the drowning prevention program. The control group participated in regular education class. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The result of the study showed that after participating in the health literacy development in drowning prevention program, all 6 types access skill, cognitive skill, media literacy skill, decision skill, self-management skill and communication skill. The experimental group had higher mean scores on health literacy development than baseline and then those in the control group at a 0.05 statistical significance level. The confident interval (95%CI) analysis has a positive effect on students participating in the program of cognitive more than access skill, media literacy skill, communication skill, and decision skill and self-management skill. Conclusion this program able to development for health literacy in drowning prevention.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม) จำนวน 33 คน เป็นกลุ่มทดลอง และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม จำนวน 33 คน เป็นกลุ่มควบคุม ทำการคัดเลือกด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple  Random Sampling) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำ กลุ่มควบคุมมีการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการได้รับโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการป้องกันการจมน้ำ ทั้ง 6 คุณลักษณะ คือ การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ ความรู้ ความเข้าใจ การรู้เท่าทันสื่อ ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการจัดการตนเอง และทักษะการสื่อสาร กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำ สูงกว่าก่อนการทดลองทุกด้าน และสูงกว่ากลุ่มควบคุมทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อวิเคราะห์ช่วงความเชื่อมั่น (95%CI) ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำระหว่างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ส่งผลทางบวกให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรม ด้านความรู้ ความเข้าใจมากกว่า การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ การรู้เท่าทันสื่อ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการจัดการตนเอง โดยสรุปโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำได้    th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพ, การป้องกันการจมน้ำth
dc.subjectHealth literacy Drowning preventionen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleEffectiveness of program for health literacy development in drowning prevention by primary school students, Grade 6en
dc.titleผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการจมน้ำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011480007.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.