Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNittaya Aryuyuenen
dc.contributorนิตยา อายุยืนth
dc.contributor.advisorKukiat Tudporen
dc.contributor.advisorกู้เกียรติ ทุดปอth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-09-05T15:47:06Z-
dc.date.available2021-09-05T15:47:06Z-
dc.date.issued5/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1223-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractChronic kidney disease (CKD) is a worldwide public health problem. Reduction in renal and physical functions in patients with CKD are manifested by a decline in an estimated glomerular filtration rate (eGFR) and sit-to-stand and walking abilities. A regular aerobic exercise has been found beneficial for predialysis CKD patients. However, a decline in the eGFR is prominent in early phase of CKD. Effects of the exercise in early CKD have been still elusive. This single-blinded randomized controlled trial was aimed to investigate effects of an aerobic exercise program (AEP) on renal and physical functions in 42 diabetic and/or hypertensive patients with CKD1-2 (age 60.8±8 years old). The AEP group (n=21) consisted of aerobic and resistance training exercises (60 min/day, 3 days/week for 12 weeks) whereas the control group (n=21) received standard care. Primary outcomes were renal functions (eGFR, blood urea nitrogen (BUN), and serum creatinine. Secondary outcomes were physical functions (6-minute walk test (6MWT) and 30-second chair stand test (30-s CST). Results showed that all baseline parameters were not statistically different between control and AEP groups. Post-intervention, eGFR in the AEP significantly increased from 89.2±13.6 to 93.2±13.0 mL• min-1•1.73 m-2 (p<0.05), but not in control (89.9±14.4 vs 89.7±13.4 mL• min-1•1.73 m-2). Moreover, post-intervention serum creatinine also significantly improved from in the AEP group. In addition, post-intervention % predicted 6MWT distance and 30-s CST also increased in the AEP. The 12-week aerobic exercise program could improve renal and physical functions in early CKD. Binary logistic regression analysis showed that female patients were more likely to have a positive eGFR change than male patients (Exp(B) = 9.4, 95% CI: 1.275-69.273). In addition, the patients with improved fasting plasma glucose (FPG) levels were approximately 7 times more likely to have a positive % predicted 6MWT change than those with unimproved FPG levels (Exp(B) = 6.976, 95% CI: 1.369 to 35.539).en
dc.description.abstractการวิจัยที่ผ่านมาพบว่าการออกกำลังกายแบบแอโรบิกสามารถชะลอภาวะไตเสื่อมและเพิ่มพูนความสามารถในการทำงานทางกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะ 3-5 ได้ แต่ในความเป็นจริง อัตราการเสื่อมของไตนั้น เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะ 1 และ 2 การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (randomized controlled trial) กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 และ 2 ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลร่องคำ อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ทำการเลือกตามเกณฑ์คัดเข้าและสุ่มเลือกอย่างง่าย จำนวน 42 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมจำนวน 21 คน และกลุ่มทดลองจำนวน 21 คน สุ่มเลือกอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกประกอบด้วย ช่วงอบอุ่นร่างกาย ช่วงออกกำลังกาย ช่วงสร้างความแข็งแรง และช่วงคลายร่างกาย โดยกำหนดให้ออกกำลังกายระยะเวลา 60 นาทีต่อครั้ง จำนวน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยระยะเวลาทั้งหมด 12 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ทดสอบสมรรถภาพทางกายและตรวจค่าการทำงานของไตทางห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติอ้างอิง (Chi-square test, Fisher's exact test, paired t-test, independent t-test, analysis of covariance (ANCOVA) และ binary logistic regression)  ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยอัตราการกรองของไต (estimated glomerular filtration rate, eGFR) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าเฉลี่ย serum creatinine ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบว่าค่าเฉลี่ย ยูเรียไนโตรเจนในกระแสเลือด (blood urea nitrogen, BUN) และค่าเฉลี่ย BUN/creatinine ratio ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนกลุ่มควบคุมไม่พบความแตกต่าง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย eGFR เพิ่มขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าเฉลี่ย serum creatinine ลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบว่าค่าเฉลี่ย BUN และค่าเฉลี่ย BUN/creatinine ratio ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ค่าเฉลี่ยทดสอบเดิน 6 นาที (6-minute walk test, 6MWT) และค่าทดสอบลุก-นั่ง 30 วินาที (30-s chair stand test, CST) กลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ   ผู้ป่วยเพศหญิงมีแนวโน้มที่จะมีการเปลี่ยนแปลง eGFR ในเชิงบวกมากกว่าผู้ป่วยชาย (Exp (B) = 9.400, 95% CI: 1.275-69.273) และผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดที่ลดลงมีโอกาสที่จะมีการเปลี่ยนแปลง %predicted 6MWT เป็นบวกมากกว่าผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดที่ไม่เปลี่ยนแปลง (Exp (B) = 6.976, 95% CI: 1.369-35.539) th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโรคไตเรื้อรังth
dc.subjectสมรรถภาพทางกายth
dc.subjectอัตราการกรองของไตth
dc.subjectการออกกำลังกายแบบแอโรบิกth
dc.subjectchronic kidney diseaseen
dc.subjectphysical functionen
dc.subjectglomerular filtration rateen
dc.subjectaerobic exerciseen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleEffects of an aerobic exercise program on delaying renal function loss and improving physical functions in patients with chronic kidney disease stages 1 and 2en
dc.titleผลของโปรแกรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อการชะลอการสูญเสียการทำงานของไตและการเพิ่มพูนการทำงานทางกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 และ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011480011.pdf3.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.