Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1234
Title: | Mobilizing the Local Level Public Policy for Dengue Fever Prevention and Control by Participation in Raitai Subdistrict Phibunmungsahan District Ubonrachatani Province การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่แบบมีส่วนร่วมเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลไร่ใต้ อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี |
Authors: | Chatwilai Lisawong ฉัตรวิไล ลีสาวงษ์ Songkhamchai Leethongdissakul สงครามชัยย์ ลีทองดีศกุล Mahasarakham University. The Faculty of Public Health |
Keywords: | นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วม การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก public policy for health local participation control and prevention of DHF |
Issue Date: | 26 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This action research aimed to study process of mobilizing the local public policy for Dengue Hemorrhagic Fever-DHF prevention and control in Rai Tai Sub-district Phibun Mungsahan District Ubon Ratchathani Province. It was applying the participatory public policy process for health-PH. The 67 participants were included to the process which comprised of local political, local civic and academic sectors. Additionally, the sample of local people in Rai Tai Sub-district was randomly selection as 360 people. Both quantitative and qualitative data were collected by using the created questionnaire and observations. Data were analyzed by using descriptive statistics such as mean, percentage and standard deviation. Qualitative data were analyzed by content analysis.
The results showed that the development process consists of 1) preparation 2) co-ordinate relevant parties 3) create cognition 4) listen to opinions from the community 5) formulate public policies by assembly forum 6) stablish an action plan and assignments 7) announce the local policy and communicate through community forums 8) Implement the policy plan 9) monitoring and evaluation 10) lesson learned activities. Due to the process was found that participants have increasing their knowledge and understanding including participation practices in DHF control and prevention with significant statistic at p-value < 0.05. For this reasons the results of Aedes larvae ratio in this area was not exceeding standard criterion and incident rate of DHF was zero.
In summary, the success factors In this process were 1) the policy formulation process resulting from community participation throughout all steps2) the implementation of the policy into action with a clearly direction with truly action plan 3) The process of continuous monitoring and control systems with their acceptation in the community through interactive public forum. การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่เพื่อการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลไร่ใต้ อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยการประยุกต์ใช้กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนา คัดเลือกแบบเจาะจง 67 คน ประกอบด้วย ภาคการเมือง ภาคประชาชน และภาควิชาการ และกลุ่มตัวอย่างประชากรตำบลไร่ใต้ คัดเลือกแบบสุ่ม 360 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) การเตรียมความพร้อม 2) ประสานผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 3) สร้างความรู้ความเข้าใจ 4) รับฟังความคิดเห็นจากชุมชนระดับหมู่บ้าน 5) กำหนดนโยบายสาธารณะโดยการจัดเวทีสมัชชา 6) กำหนดแผนปฏิบัติการและผู้รับผิดชอบ 7) ประกาศใช้นโยบายและสื่อสารผ่านเวทีชุมชน 8) ดำเนินปฏิบัติงานตามแผนนโยบาย 9) ติดตามประเมินผล 10) ถอดบทเรียน ภายหลังการขับเคลื่อนตามขั้นตอนดังกล่าว พบว่า ประชาชนตำบลไร่ใต้มีความรู้ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนมากขึ้น ควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้ดีมากขึ้น โดยผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เป็นศูนย์ โดยสรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในครั้งนี้ คือ 1) กระบวนการกำหนดนโยบายที่เกิดจากส่วนร่วมของชุมชนทั้งระบบ 2) การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติโดยมีแผนปฏิบัติการอย่างชัดเจน 3) กระบวนการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องและระบบควบคุมกำกับกันเองในชุมชนผ่านเวทีสาธารณะ |
Description: | Master of Public Health (M.P.H.) สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1234 |
Appears in Collections: | The Faculty of Public Health |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61051480012.pdf | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.