Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1264
Title: A Comparative Study of Outstanding Universal Value (OUV) for Phra That Phanom toward World Heritage on Cultural Criteria
การศึกษาเปรียบเทียบคุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากลของพระธาตุพนมสู่การเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม
Authors: Yupaporn Chaiyasan
ยุภาพร ไชยแสน
Tarawut Boonlua
ธราวุฒิ บุญเหลือ
Mahasarakham University. The Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts
Keywords: พระธาตุพนม
คุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากล
การศึกษาเปรียบเทียบ
การบริหารจัดการพื้นที่
Phra That Phanom
Outstanding Universal Values
Comparative Study
Management
Issue Date:  10
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research has the objectives to study the Outstanding Universal Values (OUV) of Phra That Phanom ​​to become a cultural world heritage site. The comparative study focus on the outstanding universal values ​​of Phra That Phanom, and the suggestions for urban management under the context of cultural heritage sites.  By studying relevant concepts and theories are included the gather information from the nomination file. Site survey and site observation are undertaken for the precipitation with community, selected the sampling group in total of 6 sources together with cultural heritage experts’ in-depth interview form. The results of the research found that the study of outstanding universal values ​​to be a cultural world heritage site of Phra That Phanom consists of 3 criteria, which are criteria 1: The noble image in the artistic creation that is a combination of art and development. Came as an outstanding architectural style. Criterion 2: The architectural style of Phra That Phanom influences the shape and is the prototype of the Phra That Phanom look outstanding in the Northeast, and criterion 6: Phra That Phanom has inherited culture and traditions, that are related to the worship of the symbolic Phra Ungrangsat for represents the Buddha. A comparative study of the international outstanding values ​​of Phra That Phanom found that the most promising cultural heritage sites are the Mahabodhi Temple Complex at Bodh Gaya and the Borobudur Temple Compounds. The urban management suggestion has divided into 2 areas, which are the urban planning and operation of the conservation area. Moreover, the suggestion for central government and local level should have a clear driving policy from the relevant agencies, including the temples and people in the areas should take more responsibility on urban management. As well as, the urban management should focus mainly on the local area level between the temple and communities, because they are the actual owner of the area. Moreover, the central government could help more support on this issue for managing the area together with community, thus these could be achieving to sustainability in the future.   
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากลสู่การเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของพระธาตุพนม โดยศึกษาเปรียบเทียบคุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากลของพระธาตุพนมและเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ให้สอดคล้องกับบริบทของการเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม รวมถึงการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลจากเอกสารฉบับสมบูรณ์ (Nomination file) แนวคิดทฤษฎี การลงสำรวจพื้นที่และการสังเกตในพื้นที่แบบมีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง รวมทั้งหมด 6 แหล่ง ร่วมกับแบบสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญด้านมรดกโลกทางวัฒนธรรม ผลการศึกษา พบว่าการศึกษาคุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากลสู่การเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของพระธาตุพนม ประกอบไปด้วย 3 เกณฑ์ คือ เกณฑ์ที่ 1 การมีอริยภาพในการสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมที่มีลักษณะเป็นศิลปะผสมผสานเกิดการพัฒนามาเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีความโดดเด่นเฉพาะ เกณฑ์ที่ 2 รูปแบบสถาปัตยกรรมของพระธาตุพนมมีอิทธิพลต่อรูปทรงและเป็นต้นแบบพระธาตุเจดีย์ที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเกณฑ์ที่ 6 พระธาตุพนมได้มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีที่มีการเชื่อมโยงกับการบูชาพระอุรังคธาตุที่เป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า การศึกษาเปรียบเทียบพบว่า แหล่งที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมมากที่สุด คือ วัดมหาโพธิ์พุทธคยา และกลุ่มวัดบุโรพุทโธ การเสนอแนะแนวทางด้านการบริหารจัดการพื้นที่ พบว่า แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ การวางแผนและการดำเนินงานอนุรักษ์บริเวณพื้นที่รวมถึงการเสนอแนะแนวทางด้านการบริหารจัดการพื้นที่ที่มีการร่วมกันบริหารจัดการพื้นที่ ทั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางและระดับพื้นที่ โดยจะต้องมีนโยบายในการผลักดันที่ชัดเจนจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกระดับชั้น รวมถึงวัดและประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการมากขึ้น โดยควรมุ่งเน้นในระดับพื้นที่ คือ วัดและชุมชนเป็นหลัก เนื่องจากเป็นเจ้าของพื้นที่และราชการส่วนกลางเข้ามาช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการ ให้มีการบริหารจัดการพื้นที่ร่วมกันจะทำให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
Description: Master of Architecture (M.Arch.)
สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1264
Appears in Collections:The Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61011180001.pdf7.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.