Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/130
Title: Development of Home Health Promotion and Self-care Processes in Patients Hypertension in Hauyyae district, Nongbuarawae Chaiyaphum Province
การพัฒนากระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลห้วยแย้ อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
Authors: Therdsak Jaiwong
เทอดศักดิ์  ใจว่อง
Terdsak Promarak
เทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์
Mahasarakham University. The Faculty of Public Health
Keywords: สร้างเสริมสุขภาพ; การดูแลตนเองที่บ้าน; โรคความดันโลหิตสูง
Health Promotion Self-Care Hypertension
Issue Date:  26
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this study was to Development of Home Health Promotion and Self-care Processes in Patients Hypertension in Hauyyae district, Nongbuarawae. Chaiyaphum Province The target audience is a network partner. A total of 76 patients were enrolled during January to June 2018. The data were collected both quantitatively and qualitatively. Quantitative analysis was performed using descriptive statistics, percentage, mean, standard deviation Paired Simple t-test. Analyze qualitative data by content analysis. The research found that the Development of Home Health Promotion and Self-care Processes in Patients Hypertension in Hauyyae district, Nongbuarawae district. Chaiyaphum Province consists of 9 steps. 1) Analyze the context Home Health Promotion and Self-care Processes by the community. 2) Analyze the situation of the problem. 3) Make a plan to develop the process of Home Health Promotion and Self-care Processes at home by the community. In patients with hypertension, 4) Knowledge training program, 3อ, 2ส health lead, 5) Change in hypertension patient behavior. 6) follow up supervision; 7) evaluate development results; 8) organize meetings and 9) The lesson learned was that the participants with Chronic Care Model: CCM had an average level of knowledge, participation, practice, and satisfaction. Statistically significant at the 0.05 level (p-value <0.001). The primary form of Home Health Promotion and Self-care Processes  development in hypertension patients in Hauyyae district, Nongbuarawae district. Chaiyaphum is a PUBLIC Mode Include Participation Health Management, Unity, Belonging Health Decision, LINE Application Information System, Integrated Care System, and the Community Health Service.The success factors for the development of PCT is Participation: P, Communication: C and teamwork: T
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนากระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลห้วยแย้ อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาเป็นภาคีเครือข่าย และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 76 คน ทำการศึกษาระหว่างเดือน มกราคม – มิถุนายน 2561 เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired Simple t-test วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนากระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลห้วยแย้ อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์บริบทการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชน 2) วิเคราะห์สถานการณ์สภาพปัญหา 3) จัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนากระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิต 4) โครงการอบรมความรู้ 3อ.2ส. แกนนำสุขภาพชุมชน 5) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิต 6) ติดตาม นิเทศงาน 7) ประเมินผลลัพธ์การพัฒนา 8) การจัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 9) ถอดบทเรียน ในรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Chronic Care Model: CCM ผู้เข้าร่วมวิจัยมีระดับค่าเฉลี่ยของบทบาทในการดำเนินงาน ความรู้ การมีส่วนร่วม การปฏิบัติ และความพึงพอใจเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการพัฒนา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) และเกิดรูปแบบเบื้องต้นของการพัฒนากระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองที่บ้านโดยชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลห้วยแย้ อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ คือ PUBLIC Model ประกอบด้วย Participation Health Management, Unity, Belonging Health Decision, LINE Application Information System, Integration Clause และ Community Health Service โดยปัจจัยสำคัญที่ทำให้การพัฒนากระบวนการสำเร็จ คือ PCT ประกอบด้วย Participation, Communication และ Teamwork
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/130
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011480026.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.