Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1300
Title: | Weather Factors Effecting to Noise Levels of Wireless Network In Yasothon Province ปัจจัยสภาพอากาศที่ส่งผลต่อระดับสัญญาณรบกวนของเครือข่ายแลนไร้สายในเขตจังหวัดยโสธร |
Authors: | Peerapong Pechthai พีระพงษ์ เพ็ชร์ไทย Worawat Sa-Ngiamvibool วรวัฒน์ เสงี่ยมวิบูล Mahasarakham University. The Faculty of Engineering |
Keywords: | สัญญาณรบกวนภายนอก เครือข่ายไร้สาย ความชื้นสัมพัทธ์ Extrinsic noise Wireless network Humidity |
Issue Date: | 24 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | Extrinsic noise sources from climate change effect the efficiency of wireless technologies operate in the 5 GHz band in the telecommunication system. This study therefore, aimed to study the factors affecting the noise of wireless networks in Yasothon Province. The sample of this study, obtained by a stratified random sampling technique, was 148 access-points of TOT, in Yasothon Province. For statistical analyses, Pearson,s correlation and regression were employed. The findings revealed that: 1) the noise of signal strength was -91.636 dBm. The average levels of temperature, humidity and pressure were 28.085 °C, 73.145% and 1004.246 hPa, respectively 2) variables that had great influences on signal strength of wireless networks consisted of humidity and pressure and 3) ambient variables of humidity and pressure could predict the level of signal strength at 2.3%. สัญญาณรบกวนภายนอกเกิดจากปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเครือข่ายไร้สายที่ความถี่ 5 GHz สำหรับระบบสื่อสาร การวิจัยนี้จึงศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อระดับความแรงของสัญญาณของเครือข่ายแลนไร้สาย 5 กิกะเฮริตซ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ อุปกรณ์รับสัญญาณที่ติดตั้งในเขตจังหวัดยโสธร ของบริษัททีโอที จำกัด จำนวน 148 ชุด ที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น ในจังหวัดยโสธร โดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับสัญญาณรบกวน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ -91.636 dBm ขณะอุณหภูมิมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.085 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 73.142 % และความกดอากาศมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1004.246 hPa 2) ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับระดับสัญญาณรบกวน ได้แก่ ความชื้นสัมพัทธ์ และความกดอากาศ และ 3) ความชื้นสัมพัทธ์ และความกดอากาศ สามารถร่วมกันพยากรณ์ระดับความแรงของสัญญาณได้ร้อยละ 2.3 |
Description: | Master of Engineering (M.Eng.) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1300 |
Appears in Collections: | The Faculty of Engineering |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010352009.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.