Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1313
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorUmaporn Waiyaraten
dc.contributorอุมาพร ไวยารัตน์th
dc.contributor.advisorRungson Chomeyaen
dc.contributor.advisorรังสรรค์ โฉมยาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1313-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) examine the components and indicators of distress tolerance. 2) develop of reality pedagogic training program for enhancing distress tolerance. 3) study the result of reality pedagogic training program for enhancing distress tolerance. The sample subjects of phase 1 was consisted of 1,481 undergraduate students, phase 2 was consisted of 30 undergraduate students. And phase 3 was consisted of 30 undergraduate students. The statistic used were mean, standard deviation and One-way Repeated Measure MANOVA. The result of the research revealed that : 1. Distress tolerance of adolescence in northeastern comprised five factors as following : 1) Tolerance of uncertainty 2) Tolerance of ambiguity 3) Tolerance of frustration 4) Tolerance of negative emotion 5) Tolerance of physical discomfort and fifty five indicators. 2. The reality pedagogic training program for enhancing distress tolerance of adolescence in northeastern comprised 14 activities and the overall of the propriety training program was as a high level. 3. The result of the reality pedagogic training program ; the score of students’ posttest was significantly higher than pretest at the .05 level. And it was not different between the follow–up after one month and post-test scores of distress tolerance.en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความทนทานต่อภาวะกดดัน 2) พัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความทนทานต่อภาวะกดดัน 3) ศึกษาผลการใช้โปรแกรม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระยะที่ 1 นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 1,481 คน ระยะที่ 2 นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 30 คน ระยะที่ 3 นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความทนทานต่อภาวะกดดันสำหรับวัยรุ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความทนทานต่อความไม่แน่นอน 2) ความทนทานต่อความคลุมเครือ 3) ความทนทานต่อความคับข้องใจ 4) ความทนทานต่ออารมณ์ด้านลบ และ 5) ความทนทานต่อความไม่สบายทางกาย รวมทั้งหมด 55 ตัวบ่งชี้ 2. โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความทนทานต่อภาวะกดดันตามแนวทาง Reality Pedagogy สำหรับวัยรุ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจำนวน 14 กิจกรรม พบว่า มีความเหมาะสมของกิจกรรมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการใช้โปรแกรม พบว่า หลังการเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรม นักศึกษามีคะแนนสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และหลังการเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมกับระยะติดตามผล 1 เดือน ไม่แตกต่างกันth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมth
dc.subjectความทนทานต่อภาวะกดดันth
dc.subjectThe Development of Training Programen
dc.subjectDistress Toleranceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Reality Pedagogic Training Program for Enhancing Distress Tolerance of Adolescence in Northeasternen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความทนทานต่อภาวะกดดันตามแนวทาง Reality Pedagogy สำหรับวัยรุ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010564009.pdf9.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.