Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPavarisorn Poomsoongen
dc.contributorปวริศร ภูมิสูงth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:04Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:04Z-
dc.date.issued20/9/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1329-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research is an operational research aiming to develop the design thinking of Mathayom Suksa 4 students to have a passing score of 70% by organizing learning activities according to the Steam Education Guidelines. In this additional physics course on work and energy, the target group was 10 students in Mathayomsuksa 4/5, Demonstration School of Mahasarakham University (Secondary Division). The research equipment was Learning Management Plan according to the Steam Education Guidelines, Design Thinking Quiz and design thinking behavior observation model. The data were analyzed using percentages and averages, which researched 2 operating cycles. The results of the research are as follows: Cycle 1, students had an average design thinking score of 13.4 out of 20, representing 67%. There were 5 students who passed the criteria and 5 students failed. Cycle 2 were developed with action cycle 1 by organizing activities that focus on interpreting, analyzing and synthesizing data in order to lead to the conclusion of the problem and practice design, planning process skills, and creating new pieces of work. It was found that the students had an average design thinking score of 17.2 out of 20, representing 86%. There were 10 students who passed the criteria and no students pass the criteria.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยปฏิบัติการโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสตีมศึกษา วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม เรื่อง งานและพลังงาน กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตีมศึกษา แบบทดสอบการคิดเชิงออกแบบ และแบบสังเกตพฤติกรรมการคิดเชิงออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละและค่าเฉลี่ย ซึ่งทำการวิจัยจำนวน 2 วงจรปฏิบัติการ และมีผลการวิจัยมีดังนี้ วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงออกแบบเฉลี่ยเท่ากับ 13.4 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 67 มีนักเรียนผ่านเกณฑ์จำนวน 5 คน และไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 5 คน ในวงจรปฏิบัติการที่ 2 ทำการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 โดยจัดกิจกรรมที่เน้นตีความหมาย วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นปัญหา และฝึกทักษะกระบวนการออกแบบและวางแผน การสร้างชิ้นงานให้มีความแปลกใหม่ พบว่านักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงออกแบบเฉลี่ยเท่ากับ 17.2 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86 มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์จำนวน 10 คน และไม่มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสตีมศึกษา, การคิดเชิงออกแบบth
dc.subjectSTEAM Educationen
dc.subjectDesign Thinkingen
dc.subject.classificationPhysics and Astronomyen
dc.titleDevelopment Design Thinking of Mathayomsuksa 4 Students by Using STEAM Educationen
dc.titleการพัฒนาการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตีมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556010.pdf5.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.