Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1343
Title: Development of 3D on Astronomy and Space Based on Interactive  Augmented Reality Technique.
การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ 3 มิติ โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมเรื่อง ดาราศาสตร์และอวกาศ
Authors: Wajirapron Saraban
วจิราภรณ์  สารบรรณ
Suebsiri Saelee
สืบศิริ แซ่ลี้
Mahasarakham University. The Faculty of Informatics
Keywords: แอนิเมชัน 3 มิติ
ปฏิสัมพันธ์
เทคโนโลยีความจริงเสริม
3D animation
interactive
Augmented system
Issue Date:  12
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research is aimed at: 1) studying forms of 3D animations based on interactive and augmented reality technology to design public relations media regarding astronomy and space; 2) developing interactive 3D animated media regarding astronomy and space; and 3) evaluating the satisfaction of viewers of interactive 3D animated media regarding astronomy and space. The sample group, which was selected by purposive sampling method, consisted of three experts and 30 users of Roi Et Science and Cultural Center for Education. The research tools included: 1) a questionnaire on the sample group’s needs; 2) interview for in-depth data from experts; 3) evaluation form on media quality by experts; 4) evaluation form of the sample group’s satisfaction; and 5) 3D animated media based on interactive and augmented reality technology. The statistical tools included percentage, mean and standard deviation. The results of the data analysis regarding the experts and 30 samples found that the sample group preferred public relations media in the form of leaflet and 3D animation based on augmented reality technology regarding astronomy and the solar system. The analytical results of the media quality evaluation by the experts found that the mean was x=4.80 or referring to the highest quality. The analytical results of the satisfaction evaluation found that the mean was x=4.74 or referring to the highest satisfaction level.  
การวิจัยครั้งนี้มุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบแอนิเมชัน 3 มิติปฏิสัมพันธ์และระบบความจริงเสริม สำหรับนำไปออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ 2) เพื่อพัฒนาสื่อแอนิเมชัน 3 มิติปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศโดยใช้ระบบความจริงเสริม 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ที่ได้รับชมสื่อแอนิเมชัน 3 มิติปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน และ ผู้ที่เข้ามาใช้บริการศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ดจำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการเพื่อการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่าง 2) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินคุณภาพสื่อจากผู้เชี่ยวชาญ 4) แบบประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอย่าง 5) สื่อแอนิเมชัน 3 มิติโดยใช้เทคนิคความจริงเสริมแบบปฏิสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลการจากผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความต้องสื่อประชาสัมพันธ์ประเภทแผ่นพับและเทคนิคความจริงเสริมด้านแอนิเมชัน 3 มิติ เรื่องดาราศาสตร์ ระบบสุริยะจักรวาล ในขณะที่ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่ามีค่าเฉลี่ย =4.80 หรืออยู่ในเกณฑ์คุณภาพมากที่สุด ส่วนผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างพบว่า มีค่าเฉลี่ย  = 4.74 หรืออยู่ในเกณฑ์ระดับมีความพึงพอใจมากที่สุด
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1343
Appears in Collections:The Faculty of Informatics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56011283010.pdf5.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.