Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1350
Title: Improving Quality of Life for the Elderly by Community Participation
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
Authors: Siraprapa Lasing
ศิรประภา หล้าสิงห์
Sumattana Glangkarn
สุมัทนา กลางคาร
Mahasarakham University. The Faculty of Public Health
Keywords: ผู้สูงอายุ
คุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
การมีส่วนร่วม
Elderly
Quality of life
Health-related quality of life
Participation
Issue Date:  2
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This action research aimed to study the development of the quality of life of the elderly by community participation in Kut Sai Jor Subdistrict, Kantharawichai District, Maha Sarakham province. The sample group was divided into 2 groups which were 66 elderly people and 26 stake-holders and network partners. Analyze quantitative data by frequency, percentage, mean, standard deviation, Paired t-test and qualitative data analysis with content analysis. The results indicated that context of the quality of life and the health related-quality of life in the area found that the elderly were attached to society as 85.90% that the elderly had a quality of life at a medium level of 84.80%. Due to health related-quality of life was found that most of them felt a little anxious or slightly depressed as 68.4%. After  development model was launched which participants to participate the activities, with the participation of the organized community, it was found that the quality of life of the elderly in the society with better health conditions The elderly in the social group that have health problems have changed their health status better. The elderly in the dependent group had better quality of life and health related-quality of life as well. Additionally, all community network partners in the community had participated in the improvement model with statistical significance. The key success factors were the creatively participated of the public health agencies and local administrative organizations in the area with the concentration of the development plan and the integration of the budget together in the community. Obviously, strong network associates on proactive activities with an efficient and continuous improvement to sustainable.
การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลกุดไส้จ่อ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ 66 คน และกลุ่มภาคีเครือข่าย 26 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า บริบทคุณภาพชีวิตและคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่พบว่าเป็นผู้สูงอายุติดสังคม ร้อยละ 85.90 ประเมินพบว่าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 84.80 ปัญหาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่รู้สึกวิตกกังวลหรือซึมเศร้าเล็กน้อย ร้อยละ 68.4 ภายหลังเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่จัดขึ้น พบว่า คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่มีภาวะสุขภาพปกติดีขึ้น ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่มีปัญหาด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพดีขึ้น ผู้สูงอายุกลุ่มภาวะพึ่งพิงมีคุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพดีขึ้น และภาคีเครือข่ายในชุมชนมีบทบาทในการร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุมากขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือ การดำเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่มีการประสานแผนพัฒนาและการบูรณาการงบประมาณร่วมกันจนเกิดเป็นรูปธรรม ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง เน้นการทำงานเชิงรุกจนเกิดการพัฒนาระบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1350
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011450002.pdf9.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.