Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1390
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAmnuay Komgriten
dc.contributorอำนวย คมกริชth
dc.contributor.advisorSithisak Jupadaengen
dc.contributor.advisorสิทธิศักดิ์ จำปาแดงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Scienceen
dc.date.accessioned2021-10-05T16:07:20Z-
dc.date.available2021-10-05T16:07:20Z-
dc.date.issued28/9/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1390-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe aim  of this thesis is 1) To study the background and knowledge of folk performances in cultural tourism in  Buriram 2) To develop the folk performances promoting  Buriram cultural tourism villages 3) To design and create folk performances to promote cultural tourism villages in Buriram. The researcher used a qualitative research method. The study was documented and fielded with teaching and in-depth analysis on the representative sample. The research findings were as follows: 1)Background and knowledge of folk performances in cultural tourism villages in Buriram. The past performances misunderstanding of their style. In other words, the person in responsibility of the performances chooses a performances that is a typical performances ,a song that is currently trending or a song with a relatively fast pace to make the performances enjoyable. Making the performances do not unique to their own tribes. 2) Development of the traditional performance format to promote cultural tourism villages in Buriram. The condition of 3 development phases comprising. 1) Pre-job creation phases. (2) Job creation phase (3) Period after creating job phase This leads to the creative design of the traditional performance set that convey the uniqueness of the tribes.The creative design of the folk performances set promoting the cultural tourism village of Buriram. The researcher selected the four ethnic arts and cultural performances of Buriram  comprising (1) The Thai Khmer ethnic boat show  (2) The worship of Prasat Muang Tam of the Thai-Lao ethnic group (3) Maanre and Galam boats of the Thai Kui ethnic group (4) Khao Mao making of the Thai Korat ethnic group. To create a performance in the name "Four Tribes of Robburi" with lyrics in 4 languages ​​. The meaning of music is clear. Including the dress that comes from life style and choreography that are harmonious throughout the performance and the variation of each performance.Making the performance is interesting.To be used as a main show in the cultural tourism village of Buriram.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. เพื่อศึกษาความเป็นมาและองค์ความรู้ของการแสดงพื้นบ้านในหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการแสดงพื้นบ้านส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ และ 3. เพื่อออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงพื้นบ้านส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารและศึกษาในภาคสนาม ด้วยการสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง ผลวิจัยพบว่า 1) ความเป็นมาและองค์ความรู้ของการแสดงพื้นบ้านในหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ การแสดงที่ผ่านมานั้นยังขาดความเข้าใจในรูปแบบการแสดง กล่าวคือผู้ที่รับผิดชอบในการแสดงเลือกเอาการแสดงที่เป็นการแสดงทั่วไปหรือเพลงที่กำลังอยู่ในกระแสในขณะนั้นหรือเป็นเพลงที่มีจังหวะค่อนข้างเร็วเพื่อให้การแสดงนั้นออกมามีความสนุกสนาน ทำให้การแสดงไม่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าตนเอง 2) การพัฒนารูปแบบการแสดงพื้นบ้านส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ ภายใต้เงื่อนไขการพัฒนา 3 ระยะ ประกอบด้วย (1) ระยะก่อนการสร้างงาน (2) ระยะการสร้างงานและ(3) ระยะหลังการสร้างงาน นำไปสู่การออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงพื้นบ้านที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของพื้นที่ และ 3) การออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงพื้นบ้านส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้เลือกการแสดงศิลปวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ทั้ง  4 เผ่าของจังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบ (1) การแสดงเรือมตรดของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมร (2) วัฒนธรรมการสักการะปราสาทเมืองต่ำของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลาว (3) การแสดงเรือมอันเรและแกลมอของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยกูย และ(4) การทำข้าวเม่าของของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยโคราช มาสร้างสรรค์เป็นการแสดงในชื่อ “โรบำบุรีสี่เผ่า” โดยมีเนื้อร้อง 4 ภาษาตามชาติพันธุ์ ดนตรีที่สื่อความหมายได้ชัดเจน รวมถึงการแต่งกายที่มาจากวิถีชีวิตและการออกแบบท่ารำที่กลมกลืนกันตลอดการแสดงและการแปรแถวของ แต่ละการแสดงทำให้เกิดความน่าสนใจ เพื่อใช้เป็นการแสดงหลักในหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์   th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบการแสดงth
dc.subjectการแสดงพื้นบ้านth
dc.subjectหมู่บ้านท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมth
dc.subjectThe development of the show styleen
dc.subjectFolk Performingen
dc.subjectCultural Tourism Villageen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of folk performance forms in order to promote cultural tourism villages Buriram provinceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการแสดงพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม  จังหวัดบุรีรัมย์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61012160007.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.