Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1391
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Rangsan Chinpakdee | en |
dc.contributor | รังสรรค์ ชินภักดี | th |
dc.contributor.advisor | Somkhit Suk-erb | en |
dc.contributor.advisor | สมคิด สุขเอิบ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science | en |
dc.date.accessioned | 2021-10-05T16:07:20Z | - |
dc.date.available | 2021-10-05T16:07:20Z | - |
dc.date.issued | 7/6/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1391 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | Disaster mitigation work in Maha Sarakham Province It requires networking. Cooperation of both public and private sectors To provide immediate access to help in the area of the victims This will cause the least harm to the public sector, Network of Disaster Prevention and Mitigation to improve service quality in the context of socio-cultural context. Mahasarakham Province, the objectives of this research are 1) To study the background, social network and culture in the context of disasters. In Maha Sarakham Province 2). To study the current conditions and problems of social and cultural networks in the context of disasters. In Maha Sarakham Province 3). To study social and cultural networks in the context of disaster response and disaster prevention. In Maha Sarakham Province This research is a qualitative research study to study the body of knowledge about Social and cultural networks in the context of disasters In Maha Sarakham Province The study authors gathered information from relevant research papers and performed Field data collection By interviewing, observing, group discussion Data recording and analysis Research area designation The researcher obtained social and cultural networks in the context of disasters. In Maha Sarakham Province due to the presence of government agencies and other agencies to support The results of the research were as follows: Disaster mitigation work in Maha Sarakham Province It requires networking. Cooperation of both public and private sectors To provide immediate access to help in the area of the victims This will cause the least damage to the public sector. Social and cultural networks in the context of disaster and disaster prevention In Maha Sarakham Province is A link between public and private rescuers who voluntarily share news or do activities together. By organizing the structure of the people in the network With equal freedom under the basis of respect, right, trust, and caring for each other Key points of the above definition Is that the relationship must be voluntary Activities performed must be of equal nature or reciprocity. Membership must not affect the independence or the individuality of a person or organization. Linking in a network nature It has to develop to a level of joint action in order to achieve common goals. Therefore, the network has to be organized into a group of individuals or organizations that are members to carry out certain activities together. In order to lead to a common goal Which may be ad-hoc activities as needed When the mission has been achieved The network may collapse. But if there is a need or a new mission may be reunited. Or it could be a network that continues long-term activities. Network building Of the disaster relief work in Maha Sarakham Province Facilitating the exchange of information and voluntary cooperation Networking should be encouraged and facilitated. For members of the network to have a relationship with each other Which are more independent than building dependent fellowship In addition, creating a network must not be a one-way communication system. Such as sending a newsletter to a list of members But there must be an exchange of information with each other The need for networking Development of any work or problem solving using a culturally inherited method within the same group of people, agency or organization. It will look no different from the closure of a country without external communication. Operations under the original concept Relying on the information circulating within Use resources or facilities that you can find close at hand. Or if it is to redesign it, it will take a very long time. It will be a serious obstacle to the development of work and will not be able to solve complex problems. Network building Can help with the above problems by giving individuals and organizations the opportunity Exchange information, including lessons and experiences with people or organizations outside of their own organization. Reduce work redundancy Cooperate and work in a mutually beneficial manner As if opening the door to the outside world | en |
dc.description.abstract | การทำงานบรรเทาสาธารณภัยในจังหวัดมหาสารคามนั้น ต้องอาศัยการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือของทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เข้าถึงการช่วยเหลือในส่วนของผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที อันจะก่อให้เกิดผลเสียหายต่อภาคประชาชนน้อยที่สุด เครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในบริบทสังคมและวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1)เพื่อศึกษาความเป็นมางานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดมหาสารคาม 2).เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดมหาสารคาม 3). เพื่อศึกษาแนวทางการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในบริบทสังคมวัฒนธรรมในจังหวัดมหาสารคาม การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับ เครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในบริบทสังคมวัฒนธรรม ในจังหวัดมหาสารคาม ผู้ศึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและทำการ เก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์ การสังเกต การสนทนากลุ่ม การบันทึกและการนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ การกำหนดพื้นที่ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาเครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในบริบทสังคมและวัฒนธรรม ในจังหวัดมหาสารคามเนื่องจากมีหน่วยงานราชการและหน่วยงานอื่นให้การสนับสนุน ผลการวิจัยพบว่า การทำงานบรรเทาสาธารณภัยในจังหวัดมหาสารคามนั้น ต้องอาศัยการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือของทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เข้าถึงการช่วยเหลือในส่วนของผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที อันจะก่อให้เกิดผลเสียหายต่อภาคประชาชนน้อยที่สุด เครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในบริบทสังคมและวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม การเชื่อมโยงของกลุ่มของกู้ภัยของภาครัฐและเอกชนที่สมัครใจจะแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการจัดระเบียบโครงสร้างของคนในเครือข่าย ด้วยความเป็นอิสระเท่าเทียมกันภายใต้พื้นฐานของความเคารพสิทธิเชื่อถือเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ประเด็นสำคัญของนิยามข้างต้น คือความสัมพันธ์ต้องเป็นไปโดยสมัครใจ กิจกรรมที่ทำต้องมีลักษณะเท่าเทียมหรือแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน การเป็นสมาชิกต้องไม่มีผลกระทบต่อความเป็นอิสระหรือความเป็นตัวของตัวเองของคนหรือองค์กร การเชื่อมโยงในลักษณะของเครือข่าย จะต้องพัฒนาไปสู่ระดับของการลงมือทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันด้วย ดังนั้น เครือข่ายต้องมีการจัดระบบให้กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่เป็นสมาชิกดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน เพื่อนำไปสู่จุดหมายที่เห็นพ้องต้องกัน ซึ่งอาจเป็นกิจกรรมเฉพาะกิจตามความจำเป็น เมื่อภารกิจบรรลุเป้าหมายแล้ว เครือข่ายก็อาจยุบสลายไป แต่ถ้ามีความจำเป็นหรือมีภารกิจใหม่อาจกลับมารวมตัวกันได้ใหม่ หรือจะเป็นเครือข่ายที่ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องระยะยาวก็ได้ การสร้างเครือข่าย ของงานบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม การทำให้มีการติดต่อสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการร่วมมือกันด้วยความสมัครใจ การสร้างเครือข่ายควรสนับสนุนและอำนวยความสะดวก ให้สมาชิกในเครือข่ายมีความสัมพันธ์กันฉันท์เพื่อน ที่ต่างก็มีความเป็นอิสระมากกว่าสร้างการคบค้าสมาคมแบบพึ่งพิง นอกจากนี้การสร้างเครือข่ายต้องไม่ใช่การสร้างระบบติดต่อด้วยการเผยแพร่ข่าวสารแบบทางเดียว เช่นการส่งจดหมายข่าวไปให้สมาชิกตามรายชื่อ แต่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันด้วย ความจำเป็นที่ต้องมีเครือข่าย การพัฒนางานหรือการแก้ปัญหาใดๆที่ใช้วิธีดำเนินงานในรูปแบบที่สืบทอดกันเป็นวัฒนธรรมภายในกลุ่มคน หน่วยงาน หรือองค์กรเดียวกัน จะมีลักษณะไม่ต่างจากการปิดประเทศที่ไม่มีการติดต่อสื่อสารกับภายนอก การดำเนินงานภายใต้กรอบความคิดเดิม อาศัยข้อมูลข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ภายใน ใช้ทรัพยากรหรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่พอจะหาได้ใกล้มือ หรือถ้าจะออกแบบใหม่ก็ต้องใช้เวลานานมาก จะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอย่างยิ่งและไม่อาจแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้ การสร้างเครือข่าย สามารถช่วยแก้ปัญหาข้างต้นได้ด้วยการเปิดโอกาสให้บุคคลและองค์กร ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารรวมทั้งบทเรียนและประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรที่อยู่นอกหน่วยงานของตน ลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน ให้ความร่วมมือและทำงานในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน เสมือนการเปิดประตูสู่โลกภายนอก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | เครือข่ายงานป้องกัน | th |
dc.subject | บรรเทาสาธารณภัย | th |
dc.subject | พัฒนาคุณภาพการให้บริการ | th |
dc.subject | Protection work network | en |
dc.subject | Disaster Relief | en |
dc.subject | Improve Service Quality | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Disaster Prevention and Mitigation Network to improve service quality in social-cultural context Maha Sarakham Province | en |
dc.title | เครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในบริบทสังคมวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61012160011.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.