Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1399
Title: Manohra Ballet: Negotiating Identity, Concepts and Choreography of Adaptation of Thai Ballet in the Context of Dancing Modernity in Thai Culture and Society
มโนห์ราบัลเลต์: การต่อรองเชิงอัตลักษณ์ แนวคิด และการประกอบสร้างบัลเลต์ไทยประยุกต์ในบริบท ของนาฏกรรมสมัยนิยมในสังคมวัฒนธรรมไทย
Authors: Natsuda Nareewijit
ณัฐสุดา นารีวิจิตร
Peera Phanlukthao
พีระ พันลูกท้าว
Mahasarakham University. Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science
Keywords: มโนห์ราบัลเลต์
การต่อรองเชิงอัตลักษณ์
บัลเลต์ไทยประยุกต์
นาฏกรรมสมัยนิยม
สังคมวัฒนธรรมไทย
การประกอบสร้าง
Manorah Balle
Negotiating Identity
Thai Ballet
Dancing Modernity
Choreography
Thai Culture and Society
Issue Date:  4
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research paper is part of the Master's thesis. Master of Fine Arts Program Department of Performing Arts, Manohra Ballet: Negotiation on Identity, Concept and Composition of Applied Thai Ballet in the Context of Modern Dance in Thai Cultural Society. This is a qualitative research article For 1. To study the background of Manohra ballet in Thailand and analyze identity negotiation, concept of creating an applied Thai ballet in the context of popular dance in Thai cultural society. 2. To study the research unit on the construction of an applied Thai ballet on Manohra Ballet. Case Study of Mr. SuteeSak Phakdethewa. The basic information the researchers used in the study came from Study and research information from documents This includes both Primary Sources and Secondary Sources, as well as focusing on field research to observe and interview. The practitioner presented the research by descriptive analysis. According to the study, it was found that Manora Ballet is a western drama in which the country Thailand was influenced in 1938. Which later King Bhumibol Adulyadej Rama IX had the idea to create the world's first “Manohra ballet” And this performance has been shown again at the ceremonial offering. Cremation Buddha amulet of King Rama IX. On October 26 2017, By Mr. SuteeSak Phakdeethewa designer and supervisor, designed the show under the use of identity negotiation theory to further mitigate the function of the show. So that the style of the show will be suitable for the style of work Celebrating the cremation of His Majesty King Bhumibol Adulyadej. By adjusting the style of gestures to have more complex techniques Add various characters to portray the King Rama IX through various forms of dance arts. Which is modern and suitable for the context of popular drama in Thai cultural society. But doesn't change is the royal theme song of King Rama IX. To demonstrate his musical genius, which is not only known in Thailand. But also showing foreigners the uniqueness of Thai in international drama Thai ballet set "Manohra Ballet"
 บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต หลักสูตรศิลปกรรมศาสต รมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง เรื่อง มโนห์ราบัลเลต์ : การต่อรองเชิงอัตลักษณ์ แนวคิด และ การประกอบสร้างบัลเลต์ไทยประยุกต์ในบริบทของนาฏกรรมสมัยนิยมในสังคมวัฒนธรรมไทย เป็น บทความวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาภูมิหลังมโนห์ราบัลเลต์ในประเทศไทยและ วิเคราะห์การต่อรองเชิงอัตลักษณ์ แนวคิด การประกอบสร้างบัลเลต์ไทยประยุกต์ในบริบทของ นาฏกรรมสมัยนิยมในสังคมวัฒนธรรมไทย 2. เพื่อศึกษาหน่วยวิจัยการประกอบสร้างบัลเลต์ไทย ประยุกต์เรื่องมโนห์ราบัลเลต์ กรณีศึกษานายสุธีศักดิ์ ภักดีเทวา ข้อมูลพื้นฐานที่ผู้วิจัยนำมาใช้ใน การศึกษามาจาก การศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ซึ่งมีทั้งเอกสารชั้นต้น (Primary Sources) และ เอกสารชั้นรอง (Secondary Sources) รวมถึงเน้นการลงพื้นที่วิจัยภาคสนามเพื่อสังเกตการณ์ สัมภาษณ์ โดยกลุ่มประชากรในการวิจัยได้แก่ผู้รู้ ผู้ปฏิบัตินำเสนอวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า มโนห์ราบัลเลต์เป็นนาฏกรรมของชาวตะวันตกซึ่งประเทศ ไทยได้รับอิทธิพลมาเมื่อปี พ.ศ.2481 ซึ่งต่อมาพระพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมีพระราชดำริให้ประกอบสร้างบัลเลต์เรื่องไทยเรื่องแรกของโลกคือมโนห์ราบัลเลต์ และการแสดงชุดนี้ได้ทำการแสดงประจักษ์สู่สายตาประชาชนชาวไทยอีกครั้งในงานพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพในหลวง รัชกาลที่ 9 ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เพื่อน้อมรำลึกและให้เห็น ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่าน การแสดงครั้งนี้ประกอบสร้าง โดยนายสุธีศักดิ์ ภักดีเทวา ผู้ออกแบบและควบคุมการแสดงได้ออกแบบการแสดงภายใต้การใช้ทฤษฎีการต่อรองเชิงอัตลักษณ์ ในการลดทอน ผ่อนปรน เพิ่มเติมผ่านเงื่อนไขหน้าที่ของการแสดง ให้รูปแบบการแสดงเหมาะสมกับรูปแบบของงาน มหรสพสมโภชถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยมีการปรับลีลาท่าทางให้มีเทคนิคที่ซับซ้อนมากขึ้น เพิ่มตัวละครต่างๆในการสื่อให้เห็นถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 ผ่านศาสตร์การเต้นในรูปแบบต่างๆ ที่มีความทันสมัยเหมาะสมกับบริบทของนาฏกรรมสมัยนิยมในสังคมวัฒนธรรมไทย แต่สิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลงคือ การเรียบเรียงบทเพลงพระราชนิพนธ์ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 เพื่อแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรีของพระองค์ท่านที่มิได้เป็นที่เลื่องลือเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังแสดงให้ชาวต่างชาติได้เห็นถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยในนาฏกรรมสากลอย่าง บัลเลต์ไทยประยุกต์ชุด "มโนห์ราบัลเลต์” 
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1399
Appears in Collections:Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010682003.pdf6.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.