Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1401
Title: Development of Training Programs Based on the Theory of Planned Behavior to Develop of  the Entrepreneurship
การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ
Authors: Pareeya Rapa
ปารีญา ราพา
Rungson Chomeya
รังสรรค์ โฉมยา
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม
ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน
คุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ
Development of Training Programs
Based on the Theory
Entrepreneurship
Issue Date:  6
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this research was 1) to study factor analysis and indicators of entrepreneurship 2) to create the training program based on the theory of planed behavior. 3) to study to results of training program based on the theory of planed behavior. The sample this research divided into two phase 1) the first phase includes 5 target group and consisted of 2,080 students selected by multistage random sampling 2) the second phase include 30 students was selected by cluster random sampling. The research instruments including: 1) The entrepreneurship scale has 69 items, the item-total reliability coefficient of was 0.94. 2) Training program based on the theory of planed behavior and 3) Questionnaire for evaluate the training program. Statistics employed for analyses of the data included Mean, Standard deviation, Exploratory factor analysis, Confirmatory factor analysis, One-way repeated measure MANOVA. The results of the research were as follows: 1) The confirmatory factor analysis of the Entrepreneurship consisted six factors according to priority of factor loading as following: Internal Locus of Control, need for achievement, Risk taking, Innovativeness, Proactiveness, Autonomy and fifteen indicators. The consistent test of the model found that the construct validity of scale and the model fitted well and the empirical data. (=49.68 df=41 p=.16 GFI=0.99 AGFI=0.98 CFI=1.00 RMSEA=0.01 SRMR=0.01) 2) The training program based on the theory of planed behavior to development of the entrepreneurship was in “The high” 3) The sample who participated in the training program had a statistically significant difference at the .05 level between the post-test and pre-test scores of social and emotional learning and no differences between the follow-up and post-test scores of the entrepreneurship.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนิสิตนักศึกษา 2) เพื่อสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน 3) เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 5 คน และนิสิตนักศึกษา จำนวน 2,080 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ระยะที่ 2 จำนวน 30 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 2) โปรแกรมการฝึกอบรมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน และ 3) แบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการฝึกอบรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ความเชื่ออำนาจในตน ความมุ่งมั้นในความสำเร็จ การกล้าเผชิญความเสี่ยง การสร้างนวัตกรรม การทำงานเชิงรุก และการมีอิสระแห่งตน มี 15 ตัวบ่งชี้ โดยโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (=49.68 df=41 p=.16 GFI=0.99 AGFI=0.98 CFI=1.00 RMSEA=0.01 SRMR=0.01) 2) โปรแกรมการฝึกอบรมตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน เพื่อพัฒนาคุณลักษณธการเป็นผู้ประกอบการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) กลุ่มตัวอย่าง มีคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และติดตามผลการทดลอง 1 เดือนกับหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1401
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010567002.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.