Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1402
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrasarn Sripongplerden
dc.contributorประสาร ศรีพงษ์เพลิดth
dc.contributor.advisorRungson Chomeyaen
dc.contributor.advisorรังสรรค์ โฉมยาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-11-18T13:22:24Z-
dc.date.available2021-11-18T13:22:24Z-
dc.date.issued5/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1402-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was 1) to study factor and indicators of moral courage 2) to create the training program of moral courage base on kidder’s approach 3) to study the results of training program of moral courage. The samples of this research divided into three phases, consisted 2,350 of Students, were chosen by Cluster Random Sampling. The research instrument including: 1) Training program of moral courage base on kidder’s approach 2) moral courage scale has 45 items by had division item between 0.21-0.67 and the reliabilities at 0.95. Statistics employed for analyses of the data included Percentage, Mean, Standard deviation, Exploratory and Confirmatory factor analysis, and One-Way Repeated Measure MANOVA. The results of the research were as follows: 1.There were 5 factors of moral courage of University Students; standing up for principles, recognize moral situation, moral behavior, endurance of threats, contemplate the risks, and moral courage consisted thirteen indicators and the consistent test of model found that the construct validity of scale and Moral courage model in accordance was fit with the empirical data with Chi-square (χ2) = 29.56 df=20, p=.077, GFI=1.00, AGFI=0.98, RMSEA=0.02, SRMR=0.01) 2. The training program of moral courage base on kidder’s approach consisted of fourteen activities, was in “The high” level of property (=4.38, S.D.= 1.07) 3. The sample who participated in program had a statistically significant difference at the .05 level between the post- test and pre-test scores of moral courage and no differences between the follow-up and post-test scores of moral courage.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความกล้าหาญทางจริยธรรม 2) เพื่อสร้างโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความกล้าหาญทางจริยธรรมตามแนวคิดของ Kidder 3) เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความกล้าหาญทางจริยธรรมตามแนวคิดของ Kidder ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ออกเป็น 2 ระยะ จำนวน 2,350 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความกล้าหาญทางจริยธรรมตามแนวคิดของ Kidder 2) แบบวัดความกล้าหาญทางจริยธรรม จำนวน 45 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.21-0.67 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาวเดียวแบบวัดซ้ำ (One-Way Repeated Measure MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของความกล้าหาญทางจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 5 ประกอบได้แก่ 1) การยึดมั่นในหลักการ  2) การรับรู้สถานการณ์ทางจริยธรรม 3) พฤติกรรมทางจริยธรรม 4) การอดทนต่อภัยคุกคาม 5) การไตร่ตรองถึงความเสี่ยงเสี่ยง และตัวชี้ความกล้าหาญทางจริยธรรมมี 13 ตัวบ่งชี้ โดยโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและดัชนีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์ () เท่ากับ 29.56 df=20, p=.08, ค่า GFI=1.000 ค่า AGFI=0.98, ค่า RMSEA=0.02, ค่า SRMR=0.01 2. โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความกล้าหาญทางจริยธรรมตามแนวคิดของ Kidder มีจำนวน 14 กิจกรรม ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการฝึกอบรมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (=4.38, S.D.= 1.07) 3. ตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมมีระดับความกล้าหาญทางจริยธรรมหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และติดตามผลการทดลอง 1 เดือนกับหลังการทดลอง ไม่แตกต่างกันth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมth
dc.subjectความกล้าหาญทางจริยธรรมth
dc.subjectแนวคิดของ KIDDERth
dc.subjectThe development of a Training Programen
dc.subjectMoral courageen
dc.subjectKIDDER's Approachen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleThe development of a Training Program for Moral courage Development of University Students in Northeastern Higher Education Institutions based on KIDDER's Approachen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความกล้าหาญทางจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวคิดของKIDDERth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010567003.pdf7.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.