Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiyamas Buddanoien
dc.contributorปิยมาศ บุดดาน้อยth
dc.contributor.advisorKanyarat Cojornen
dc.contributor.advisorกัญญารัตน์ โคจรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-11-18T13:22:25Z-
dc.date.available2021-11-18T13:22:25Z-
dc.date.issued15/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1406-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop learning activities based on constructivist theory and STAR strategy with a required efficiency of 70/70, 2) to compare word problem-solving ability on the topic of stoichiometry for Mathayomsuksa 4 students through learning activities based on constructivist theory and STAR strategy with 70 percent criteria and 3) to compare learning achievement on the topic of stoichiometry for Mathayomsuksa 4 students through learning activities based on constructivist theory and STAR strategy with 70 percent criteria. The samples used in this study were 33 students of Mathayomsuksa 4 in the 2nd semester of 2020 academic year at Kosumwittayasan school. The research instruments included 1)  the lesson plans in topic of stoichiometry 2) the achievement test 3) the problemsolving ability test. Statistics values used in this study consist of percentage, means, standard deviation and one sample t-test. The results were as follows : 1) The learning activities based on constructivist theory and STAR strategy had an efficiency (E1/E2) of 75.20/74.96.   2) Students who have been learning by using learning activities based on constructivist theory and STAR strategy having higher word problem-solving ability than 70 percent at a statistically significant of .05 level. 3) Students who have been learning by using learning activities based on constructivist theory and STAR strategy having higher learning achievement than 70 percent at a statistically significant of .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70  2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม  และ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์ จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบทดสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน One sample t-test ผลการวิจัยปรากฏดังนี้  1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 75.20/74.96                                    2) นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectกลวิธี STAR, ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา, ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectConstructivist theory Learning achievement STAR strategy Word problem-solving abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Learning Activities Based on Constructivist Theory and STAR Strategy  to Enhance the Word Problem-Solving Ability and Learning Achievement  in Chemistry on the Topic of Stoichiometry for Mathayomsuksa 4 Students en
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลวิธี STAR ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556011.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.