Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanan Khanthayoten
dc.contributorธนัณณ์ ขันทะยศth
dc.contributor.advisorSayam Juangprakhonen
dc.contributor.advisorสยาม จวงประโคนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2019-08-19T03:06:16Z-
dc.date.available2019-08-19T03:06:16Z-
dc.date.issued17/12/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/140-
dc.descriptionMaster of Music (M.M.)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to: 1) Develop a teaching package of melodic Based on the concept of Goddess. For Primary Khoksumran School Nakhon Ratchasima 2) To compare the skills in the practice of melodian. Students learn before and after school with a melodic instructional package. The target audience used in this experiment. Secondary school students in the first semester of academic year 2018, Khoksamran School Pak Thong Chai The samples were purposively sampled for 10 hours. The instruments used in this study were the melodian instructional package based on the concept of calendula. A lesson plan for learning how to teach a lesson in Meditation with a teaching method for grade 2 for 10th grade students and 10 hours for a lesson plan. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation and hypothesis testing. Use comparative analysis of skills to practice melodic instruments. The t-test (t-test for Dependent Samples) was used as a guideline for the study.      1. The constructed instructional package was 82.63 / 84.58, higher than the target of 80/80 students. Improved knowledge and understanding.      2. Students have skills in performing melodic instruments. After learning more than before. There was a statistically significant difference at .05 level between the pre-test and post-test scores at the 87.00     Summary of this research. The melodian instruction set is based on the concept of kodaly. Improved knowledge and understanding.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดการสอนเมโลเดี้ยน ตามแนวคิดของโคดาย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านโคกสำราญ จังหวัดนครราชสีมา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะในการปฏิบัติเมโลเดี้ยน ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดการสอนเมโลเดี้ยนตามแนวคิดของโคดาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านโคกสาราญ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 8 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้เวลาทดลองทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ชุดการสอนเมโลเดี้ยนตามแนวคิดของโคดาย แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติการเรียนการสอนเมโลเดี้ยนด้วยวิธีการสอนของโคดายสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 10 แผน 10 ชั่วโมง และแบบวัดทักษะการปฏิบัติเมโลเดี้ยนก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีเมโลเดี้ยน ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดการสอนเมโลเดี้ยนตามแนวคิดของโคดายโดยใช้ t-test (t- test for Dependent Samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้      1. ชุดการสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 82.63/ 84.58 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เรียนด้วยชุดการสอนเมโลเดี้ยนตามแนวคิดของโคดาย มีพัฒนาการด้านความรู้ ความเข้าใจ ที่ดีขึ้น      2.นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติเครื่องดนตรีเมโลเดี้ยน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการเปรียบเทียบทักษะความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีเมโลเดี้ยนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 87.00     โดยสรุปการวิจัยครั้งนี้ ทำให้ได้ชุดการสอนเมโลเดี้ยนตามแนวคิดของโคดาย มีผลการวัดทักษะการปฏิบัติเมโลเดี้ยนอยู่ในเกณฑ์ระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectชุดการสอนเมโลเดี้ยนth
dc.subjectโคดายth
dc.subjectThe Melodian Instructionen
dc.subjectKodalyen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Development of the Melodian Instruction set Based on the Concept of Kodly for Student in Primary Khoksumran Schoolen
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนเมโลเดี้ยน ตามแนวคิดของโคดาย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านโคกสำราญ จังหวัดนครราชสีมาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59012080004.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.