Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMaliwam Suraniten
dc.contributorมะลิวรรณ สุรานิตย์th
dc.contributor.advisorAtthapon Intasenaen
dc.contributor.advisorอัฐพล อินต๊ะเสนาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-11-18T13:22:26Z-
dc.date.available2021-11-18T13:22:26Z-
dc.date.issued23/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1412-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the current study were 1) To develop a KWL Plus learning management with an efficiency of 75/75 for improving Mathayomsuksa 3 students’ analytical reading, 2) To compare the students’ analytical reading before and after learning with the developed learning management, and 3) To study students’ satisfaction toward the developed learning management. The cluster sampling method resulted in 38 samples who were Mathayomsuksa 3 students in 3/3 class of Huai Mek Wittayakhom school under Kalasin Secondary Educational Service area. The instruments were 1) A KWL Plus learning management with 6 learning plans of 12 hours, 2) An analytical reading test designed to have 30 full marks of 30 question items in the 4 multiple choice design and proved to have difficulty of 0.27-0.77, discrimination of 0.20-0.67, and reliability of 0.72, 3) A 5 rating scale satisfaction questionnaire with 10 question items proved to have discrimination of 0.20-0.67 and reliability of .80. The data were analyzed using percentage, mean score, standard deviation, and t-test. The results of the study were as follows. 1. KWL Plus learning management for improving Mathayomsuksa 3 students’ analytical reading was found to have an efficiency of 79.19/81.05 reaching the criteria of 75/75. 2. The students’ analytical reading was significantly higher after learning with the developed learning management at a statistical level of 0.5. 3. The students’ satisfaction toward the developed learning management was found at a high level (x̅ = 4.06, S.D. = 0.82).en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม จำนวนนักเรียน 38 คน ได้มาโดยการเลือกแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์จำนวน 6 แผน รวม 12 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการเชิงวิเคราะห์ โดยเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย เรื่องการอ่านเชิงวิเคราะห์ ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 30 คะแนน ซึ่งมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.27–0.77 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.20–0.67 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.72 3) แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกมีค่าตั้งแต่ 0.20–0.67 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 79.19/81.05 ที่เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75   2. นักเรียนมีทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.06, S.D. = 0.82)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plusth
dc.subjectการอ่านเชิงวิเคราะห์th
dc.subjectKWL Plus Learning Managementen
dc.subjectAnalytical Readingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleKWL Plus Learning Management for Improving Mathayomsuksa 3 Students’ Analytical Readingen
dc.titleการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWL Plus ที่ส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010585504.pdf9.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.