Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1451
Title: The Learning Management by Instructional Model Based on Simpson’s Practice Skill of Football for the Eighth Grade Students
การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันกีฬาฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Authors: Anuphab Mopim
อานุภาพ โม้พิมพ์
Thanarat Laoakka
ธนารัตน์ เหล่าอรรคะ
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน
ทักษะฟุตบอล
Simpson’s Practice Skill
Football Skills
Issue Date:  17
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research were to: 1) develop the learning management by instructional model based on Simpson’s practice skill of football for the eighth grade students to be effective according to the criterion of 70/70 2) study the development of Football practice skills for the eighth grade Students studying with  Simpson's Practical Skills Learning Management. The target audience is 17 eighth grade students at Watthayaim School Phutthaisong Subdistrict Phutthaisong District Buriram Province in the first semester of the academic year 2021. The research instruments were: 1) learning management plan by Instructional Model Based on Simpson’s practice skill of Football eighth grade, 6 plans, each 2 hours long, for a total of 12 hours 2) Football Skills Assessment, 7 issues, is a checklist form. 3) football skills test, 6 issues, is completion form. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, and standard deviation. The research findings revealed that: 1. The learning management by Instructional Model Based on Simpson’s practice skill of Football for the eighth grade students has an efficiency of 78.50/79.78, which was greater than the criterion of 70/70.   2. The development of football practice skills for the eighth grade students studying with Simpson's practical skills learning management during the course, the mean score was 46.10, which equaled 76.67 percent and the post-test mean score was 38.29, which equaled 79.78 percent, meaning that the learning management of the Simpsons practical skills. As a result, the students' soccer practice skills were higher and met the criteria by 70 percent.
การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน เรื่อง กีฬาฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 (2) ศึกษาทักษะปฏิบัติกีฬาฟุตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดท่าเยี่ยม ตำบลพุทไธสง อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันกีฬาฟุตบอล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง (2) แบบประเมินทักษะปฏิบัติกีฬาฟุตบอล จำนวน 7 ฉบับ เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) (3) แบบทดสอบวัดความรู้ทักษะปฏิบัติกีฬาฟุตบอล จำนวน 6 ฉบับ เป็นแบบปรนัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้   1. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน เรื่อง กีฬาฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.50/79.78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ทักษะปฏิบัติกีฬาฟุตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน มีคะแนนเฉลี่ยระหว่างเรียนเท่ากับ 46.10 คิดเป็นร้อยละ 76.67 และคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียน เรื่อง กีฬาฟุตบอล เท่ากับ 38.29 คิดเป็นร้อยละ 79.78 หมายความว่า การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน ส่งผลให้ทักษะปฏิบัติกีฬาฟุตบอลของนักเรียนสูงขึ้นและเป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1451
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010585017.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.