Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1454
Title: The Study of Characteristics of Secondary School Students in Mahasarakham Province with Internet Media Addiction and Non-Internet Addiction Behaviors on smartphones
การศึกษาคุณลักษณะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคามที่มีพฤติกรรมติดสื่ออินเทอร์เน็ต และไม่ติดสื่ออินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน 
Authors: Ongart Yatniyom
องอาจ ญาตินิยม
Rungson Chomeya
รังสรรค์ โฉมยา
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ในจังหวัดมหาสารคาม
การศึกษาคุณลักษณะ
พฤติกรรมติดสื่ออินเทอร์เน็ต
และไม่ติดสื่ออินเทอร์เน็ต
ในสมาร์ทโฟน
Characteristics
The Study
Secondary School
Students in Mahasarakham Province
Internet Media Addiction
Non-Internet Addiction
Behaviors on smartphones
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this research was to study the characteristics of secondary school students in Mahasarakham Province with internet media addiction and non-internet media addiction behaviors on smartphones and characteristics associated with internet media addiction behavior in the smartphone. The sample consisted of 398 students, obtained by multi-stage random sampling. The data were collected using questionnaires consisting of general information, factors influencing internet media addiction in smartphones. Data were then analyzed with descriptive statistics.             The results showed that an internet media addiction behavior of high school students in Mahasarakham Province from a total of 398 samples found that there were students in the group who were not addicted to internet media on smartphones were 248 people, representing an average of 62.3%. And there were 150 students who were addicted to internet media on smartphones, or 37.3%.             The results of a study on the characteristics of students who were addicted to internet media addiction and non-internet media addiction of secondary education level in Mahasarakham province found that in terms of gender aspect, students with internet media addiction in smartphones were 67 males, 83 females with a total of 150 , representing 37.6%. Age aspect, it was found that students who were addicted to the internet on smartphones, most of them are 16-18 years of age with a total of 90 people, representing 22.6 percent. Education aspect, it was found that most of them were students from Matthayomsuksa 3,4 and 6 respectively who came from the group addicted to internet media on smartphones. They could be classified as Matthayomsuksa 3 with 42 people, Matthayomsuksa 4 with 33 people, and Matthayomsuksa 6 with 33 people, representing 10.5 percent and 8.2 percent respectively. Economic aspect, it was found that 62 students in the smartphone internet addiction group received income from their parents per month between 2001 and 3,000 baht, representing 15.5 percent. For the monthly household income, 55 students in the group who are addicted to the internet on smartphones, the income is 10,001 -30,000 baht per month, followed by less than 10,000 baht/month of 54 people, representing 13.8 percent and 13.5 percent, respectively. The social characteristics of most of the students who were addicted to the internet on smartphones found that the family status of 111 students was 27.8% of the students. At the level of family relationship, it was found that the level of family relationship was at a good level, totaling 111 people, accounting for 27.8%. In terms of usage rate, it was found that most were at a moderate level. Among the 72 students who were addicted to the internet on smart phones, 18.0%. User satisfaction aspect It was found that the students in the group were addicted to the Internet in their smartphones. Most of them were at moderate level, of 64 people, representing 16.0%. The self-expression aspect it was found that the students with internet addiction in smartphones were at a high level of 58 people, representing 14.5%. The social influence aspect it was found that students with internet addiction on smartphones were at moderate level, 50 people accounted for 12.5%. A wide range of usability aspect it was found that students with internet addiction on smartphones were at a high level of 74 people, accounting for 18.5%. The anxiety aspect it was found that the students were addicted to the internet on smartphones were at moderate level, of 61 people, representing 15.3%. Parenting aspect, it was found that the students in the group were addicted to the internet in their smartphones were at moderate level, of 51 people, representing 12.8%.             The results of the study comparing the characteristics, behavioral and emotional aspects found that students who were addicted to the internet compared with behavioral variables, no extraversion behavior was found. It was found that 21 people showed a moderate behavior (Ambivert) representing 5.2%. And It was found that most of 129 people showed introversion behaviors representing 32.4%. Emotional attributes aspect, no stable emotional attributes were found. Moderate emotional characteristics were found in 31 people, or 7.7%. And 119 students were found to have neuroticism, representing 29.8%. And a number of 119 students had neuroticism, representing 29.8%.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคุณลักษณะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัดมหาสารคามที่มีพฤติกรรมติดสื่อ และไม่ติดสื่ออินเทอร์เน็ต ในสมาร์ทโฟนและคุณลักษณะที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการติดสื่ออินเทอร์เน็ตในโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ตัวอย่างเป็นนักเรียนจำนวน 398 คนได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling)เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดสื่ออินเทอร์เน็ต ในสมาร์ทโฟน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา             ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการติดสื่ออินเทอร์เน็ตของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคามจากตัวอย่างทั้งหมด 398 คน พบว่ามีนักเรียนกลุ่มไม่ติดสื่ออินเทอร์เน็ต ในสมาร์ทโฟนมีจำนวน 248 คน คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ 62.3 และมีนักเรียนกลุ่มที่ติดสื่ออินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟนมีจำนวน150 คนคิดเป็นร้อยละ 37.3             ผลการศึกษาคุณลักษณะของนักเรียนที่ติดสื่อและไม่ติดสื่ออินเทอร์เน็ตระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม พบว่าในคุณลักษณะด้านเพศในนักเรียนกลุ่มติดสื่ออินเทอร์เน็ต ในสมาร์ทโฟนเป็นชาย 67คน หญิง 83 คน รวม 150 คนคิดเป็นร้อยละ37.6  ในคุณลักษณะด้านอายุ พบว่าในนักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่ อยู่ในกลุ่มอายุ16 – 18 ปี จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ22.6ในคุณลักษณะด้านการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3,4,6 ซึ่งมาจากกลุ่มติดสื่ออินเทอร์เน็ต ในสมาร์ทโฟน ม.3 จำนวน  42 คน ม.4 จำนวน 33 คน และ ม.6 จำนวน 33 คน ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 10.5 และ ร้อยละ 8.2 ตามลำดับ คุณลักษณะด้านเศรษฐกิจ พบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ได้รับรายรับจากผู้ปกครองต่อเดือน ส่วนใหญ่  ระหว่าง 2,001 – 3,000 บาท จำนวน 62 คนคิดเป็นร้อยละ 15.5 ด้านรายได้ครัวเรือนต่อเดือนของนักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่ คือ 10,001 -30,000 บาท/เดือนจำนวน 55 คนรองลงมาคือ น้อยกว่า 10,000 บาท/เดือน จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 13.8 และร้อยละ13.5 ตามลำดับ คุณลักษณะด้านสังคมของนักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่ พบว่า สถานภาพทางครอบครัวของนักเรียนยังอยู่ด้วยกัน จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 27.8  ในระดับความสัมพันธ์ในครอบครัว พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ มีระดับความสัมพันธ์ในครอบครัวอยู่ในระดับดี  จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 27.8 คุณลักษณะด้านอัตราการใช้งาน พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ในนักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 18.0 คุณลักษณะด้านความพึงพอใจในการใช้งาน พบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 16.0 คุณลักษณะด้านการแสดงออกถึงตัวตนพบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 14.5 คุณลักษณะด้านอิทธิพลทางสังคมพบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ12.5 คุณลักษณะด้านการใช้งานที่หลากหลาย  พบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนมากอยู่ในระดับมากจำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 18.5 คุณลักษณะด้านความวิตกกังวลพบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 15.3  คุณลักษณะด้าน การอบรมเลี้ยงดู พบว่านักเรียนกลุ่มติดอินเทอร์เน็ตในสมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 12.8            ผลการศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะ ด้านพฤติกรรม และด้านอารมณ์ พบว่านักเรียนที่ติดอินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามตัวแปรด้านพฤติกรรมไม่พบพฤติกรรม แบบแสดงออก(Extraversion)  พบพฤติกรรมแบบปานกลาง(Ambivert) จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ5.2และพบว่าส่วนใหญ่มีพฤติกรรมแบบเก็บตัว(Introversion) 129 คน คิดเป็นร้อยละ 32.4คุณลักษณะทางอารมณ์ไม่พบคุณลักษณะทางอารมณ์ แบบมั่นคง(Stability) พบคุณลักษณะทางอารมณ์แบบปานกลาง(Ambivert) 31 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 และส่วนใหญ่ พบว่ามีคุณลักษณะทางอารมณ์แบบอ่อนไหว(Neuroticism) 119 คน คิดเป็นร้อยละ 29.8
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1454
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010587010.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.