Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1473
Title: Development Guidelines of Happy Organization in School under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2
แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
Authors: Natthapong Noikotr
ณัฐพงษ์ น้อยโคตร
Boonchom Srisa-ard
บุญชม ศรีสะอาด
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: แนวทางการพัฒนา
องค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา
Development Guidelines
Happy Organization in School
Issue Date:  7
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aimed to; 1) study current conditions, desirable conditions, and the needs to the happy organization in school under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 and 2) develop guidelines of happy organization in school Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2. The research method was divided into 2 phases. Phase 1 was to study current conditions, desirable conditions, and the needs to the happy organization in school under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2. The samples were 306 school administrators and teachers under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 through stratified random sampling technique and research instrument was a rating scale questionnaire. Phase 2 was to develop guidelines of the happy organization in school under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2. The development guideline was evaluated by 5 experts through purposive sampling technique and research instrument was an assessment of appropriateness and feasibility of the guideline. Data were analyzed by using mean, standard deviation and Priority Needs Index Modified.   The results showed that; 1. The overall opinions concerning the current conditions to the happy organization in school  under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 were found to be at the high level. In addition, the desirable conditions could be observed at the highest level. Furthermore, the priority need order from high to low  as follow: 1) Livable workplace; 2) Solidarity in the Organization; 3) Positive attitude towards work; and 4) Workforce happiness. 2. The development guideline of the happy organization in school under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 could be established consisting of four aspects as follows: 1) Solidarity in the Organization; 2) Positive attitude towards work; 3) Livable workplace; and 4) Workforce happiness. These four aspects could be elaborated into twenty-seven detailed guidelines for developing schools into happy organizations. The degree of suitability and possibility of this guidelines were ranked at the highest level.
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) พัฒนาแนวทางสู่ความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 306 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมานค่า ระยะที่ 2 แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 และประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งความสุข สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบันของความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความต้องการจำเป็นของความเป็นองค์กรแห่งความสุขในสถานศึกษา เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านที่ทำงานน่าอยู่ 2) ด้านความสมานฉันท์ในองค์กร 3) ด้านทัศนคติเชิงบวกต่องานที่ทำ และ 4) ด้านคนทำงานมีความสุข 2. แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ประกอบด้วย 1 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความสมานฉันในองค์กร 2) ด้านทัศนคติเชิงบวกต่องานที่ทำ 3) ด้านที่ทำงานน่าอยู่ 4) ด้านคนทำงานมีความสุข ทั้ง 4 ด้าน มีแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งความสุข รวมทั้งสิ้น 27 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1473
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581018.pdf5.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.