Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Patamaporn Ketsri | en |
dc.contributor | ปัทมาภรณ์ เกตุศรี | th |
dc.contributor.advisor | Pacharawit Chansirisira | en |
dc.contributor.advisor | พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T11:22:06Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T11:22:06Z | - |
dc.date.issued | 7/12/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1476 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to; 1) study current conditions, desirable conditions, and the necessity of learning management in a new way for opportunity expansion school in Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 2) to study guidelines management of New normal learning in educational opportunity expansion schools under the Mahasarakham Primary 2 by using research and development methods. The research method was divided into 2 phases: Phase 1 was to study the current conditions, desirable conditions, and necessity of learning management in a new way for opportunity expansion school. The samples were 253 school administrators and teachers under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 selected through the stratified random sampling. The research instrument was scaling questionnaire. Phase 2 was to develop New normal learning in educational opportunity expansion school in Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 and evaluating the guidelines management of New normal learning by 5 experts selected through the purposive sampling technique. The research instruments were interview form and evaluation form on appropriateness and possibility of the programs to develop new approaches to learning management. The data were analyzed by using mean, standard deviation and need index. The results showed that; 1. The current stage of the New Normal Learning in Educational Opportunity Expansion Schools was overall in the moderate level. The highest average aspect was the design of learning management in accordance with the needs of learners. The desirable conditions of the learning management in a new way for opportunity expansion school was overall in the high level. The highest average aspect was helping students who lack of readiness for learning management and need to develop new ways of learning management for opportunity expansion school. The needs assessment which ordered from more to less were helping students who lack of readiness for learning management, designing a variety of assessments, creating a variety of learning materials, developing online teaching system, and designing of learning management in accordance with the needs of students. 2. Guidelines management of New normal learning in educational opportunity expansion schools under the Mahasarakham Primary 2 consists of 5 components, 15 indicators, and 27 development guidelines. These are development of online teaching and learning systems (3 indicators and 6 development guidelines), designing of learning management in accordance with the needs of students (3 indicators and 6 development guidelines), creating a variety of learning materials (3 indicators and 5 development guidelines), designing a variety of assessments (3 indicators and 5 development guidelines), and helping students who lack of readiness for learning management (3 indicators and 5 development guidelines). The results of overall development approach were the most appropriate level. The possibility of applying to develop a new way of learning management for opportunity expansion school in Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 2 was the highest level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 253 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 และประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยรวม 5 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้ และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการประเมินผลที่หลากหลาย การสร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย การพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 มีองค์ประกอบ 5 ด้าน 15 ตัวบ่งชี้ และมีแนวทางการพัฒนา 27 แนวทาง ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์มี 3 ตัวบ่งชี้ มีแนวทางการพัฒนา 6 แนวทาง ด้านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนมี 3 ตัวบ่งชี้ มีแนวทางการพัฒนา 6 แนวทาง ด้านการสร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายมี 3 ตัวบ่งชี้ มีแนวทางการพัฒนา 5 แนวทาง ด้านออกแบบการประเมินผลที่หลากหลายมี 3 ตัวบ่งชี้ มีแนวทางการพัฒนา 5 แนวทาง และด้านการช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้มี 3 ตัวบ่งชี้ มีแนวทางการพัฒนา 5 แนวทาง โดยแนวทางการพัฒนาโดยรวมมีความเหมาะสมระดับ มากที่สุด และความเป็นไปได้ในการนำไปใช้เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | แนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ | th |
dc.subject | โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา | th |
dc.subject | Development Guidelines New Normal Learning | en |
dc.subject | Educational Opportunity Expansion Schools | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Guidelines Management of New Normal Learning in Educational Opportunity Expansion Schools under the Mahasarakham Primary Educational Service Area 2 | en |
dc.title | แนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010581031.pdf | 9.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.