Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1500
Title: Evaluation of systems to enhance competency, professional standards system developers for the development of learning
การประเมินระบบเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะมาตรฐานอาชีพนักพัฒนาระบบเพื่อการพัฒนารูปแบบสื่อการเรียนรู้
Authors: Phadet Umnapiang
เผด็จ อ่ำนาเพียง
Kittipol Wisaeng
กิตติพล วิแสง
Mahasarakham University. Mahasarakham Business School
Keywords: การประเมินระบบ
นักพัฒนาระบบ
สื่อการเรียนรู้
สมรรถนะอาชีพ
Learning Materials
System Evaluation
Developer
Professional Performance
Issue Date:  16
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The goals of this study were to: 1) evaluate the system developer career standard assessment system; and 2) determine the effectiveness of the system developer career standard assessment system. 2) to create learning materials to improve performance using the decision tree process, in accordance with system developers' professional standards; 3) to investigate the efficiency of learning materials for improving competence, in accordance with system developers' professional standards. The findings of a system review to improve the system developer career standard's competency. At a high level, total mean (4.10), environmental aspect (4.20), sufficiency (4.10), and suitability (4.10), total mean (4.10), attainment of objectives (4.14), learning media development to boost performance according to system developers' professional standards Make use of the decision tree method. Design and analysis of systems  Expert systems are used in learning management to satisfy the needs of users. To classify media users' groups, examine their knowledge and skills, and select which material groups media users should review and investigate further. to improve knowledge and abilities As a result, the test subjects were capable. meet the establishment's requirements The satisfaction level of the participants was examined as a result of determining the efficacy of newly designed learning materials. continue to study media The cumulative mean is highest at the highly satisfied level (4.38) The students were the ones who were the happiest. Information management for students and lesson planning Communication as well as study and assessment activities In terms of other items, the pupils were quite pleased. According to studies, the Office of Vocational Education Commission and the Vocational Training Institute should collaborate on curriculum development. and conduct a career evaluation as part of the hiring process In addition, there should be activities and media to improve professional competence for graduates in accordance with the framework of professional credentials and labor market needs.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินระบบการประเมินมาตรฐานอาชีพนักพัฒนาระบบ 2) เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพนักพัฒนาระบบโดยใช้กระบวนการของต้นไม้ตัดสินใจ 3) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพนักพัฒนาระบบ การประเมินพบว่าผลการการประเมินระบบ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยรวม (4.10) ด้านสภาวะแวดล้อมค่าเฉลี่ยรวม (4.20) ด้านความพอเพียง ค่าเฉลี่ยรวม (4.10) และด้านความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยรวม (4.10) ด้านความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ค่าเฉลี่ยรวม (4.14) การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ตามมาตรฐานอาชีพนักพัฒนาระบบ วิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้ที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญเข้าจำแนกกลุ่มของผู้ใช้งานสื่อ วิเคราะห์ความรู้และสมรรถนะเพื่อที่จะกำหนดกลุ่มเนื้อหาที่ผู้ใช้สื่อทบทวนและศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้เข้ารับการทดสอบมีสมรรถนะตรงกับความต้องการของสถานประกอบการผลการหาประสิทธิภาพสื่อการเรียนรู้ วิเคราะห์ ระดับความพึงพอใจของผู้ เรียนต่อสื่อการเรียนรู้ ในระดับพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยรวม (4.38) ผู้เรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุดด้านการจัดการข้อมูลผู้เรียนการออกแบบบทเรียนกิจกรรมการเรียนและด้านการติดต่อสื่อสาร ส่วนรายการอื่นๆ ผู้เรียนมี ความพึงพอใจอยู่ ในระดับมาก ข้อเสนอแนะการวิจัยพบว่าสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพควรมีความร่วมมือพัฒนาหลักสูตรร่วมกันให้การประเมินสรรถนะอาชีพเป็นส่วนในการพิจารณาบุคคลเข้าทำงาน และควรมีกิจกรรมและสื่อเพื่อพัฒนาสมรรถนะอาชีพให้ผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพตรงความต้องของตลาดแรงงาน
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1500
Appears in Collections:Mahasarakham Business School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010991004.pdf9.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.