Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSarayut Chusutonen
dc.contributorศรายุทธ ชูสุทนth
dc.contributor.advisorPhatcha Hirunwatthanakulen
dc.contributor.advisorพัดชา หิรัญวัฒนกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2022-03-24T13:40:53Z-
dc.date.available2022-03-24T13:40:53Z-
dc.date.issued21/12/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1520-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis research was done in the form of action research. The purpose of this research is to develop a health promotion model for the elderly. The research process included participation from the community of Bang Nok Khwaek Municipality, Bang Khonthi District, Samut Songkhram Province. The group which was used as a model for this study was further divided into three sub groups. The sub groups comprised of 161 elderly people, 45 people who had involvement, and 45 people who provided care to the elderly. The activities that were used to develop a health promotion model for the elderly followed the technique of participative planning process and AIC to analyze the data. This was done using descriptive statistics, consisting of frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and analyzing qualitative data with content analysis. The results of the research revealed that the operation process according to the health promotion model of the elderly, including community participation, consisted of six steps. The steps are: 1) studying the basic information and analyzing the area context 2) organizing workshops and planning meetings 3) formulating an action plan 4) implementing the plan 5) supervising and asking for results 6) meeting to summarize the results of the operations It was found from the study that the health promotion model of the elderly in the community consisted of three activities, namely: 1) Health promotion activities for the elderly 2) activities to transfer knowledge to the community 3) morale building activities for the elderly. The results of the assessment included the factors of the involvement of stakeholders, the general quality of life, and the quality of life of the elderly. Following the research operation, it was found at the level of involvement of the involved parties was at a moderate level (Mean 3.13,SD=0.81). The results for the quality of life of the elderly was also moderate (Mean 76.30,SD=10.18). The quality of life for the elderly was also found to be moderate (Mean 83.60,SD=8.99). Finally, the overall level of satisfaction of the elderly was moderate (Mean 3.35,SD=0.56). In summary, the success factors of the study consisted of 6 factors: 1) having strong community leaders 2) importance being given to the elderly by the local administrative organizations 3) Community participation in every step of the process 4) sub district health promoting hospitals providing support and encouragement 5) social capital 6) Network coordination.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเทศบาลตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 161 คน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 45 คน และผู้ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 45 คน โดยกิจกรรมการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใช้เทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม AIC วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการดำเนินงานตามรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและวิเคราะห์บริบทพื้นที่ 2) จัดประชุมวางแผนเชิงปฏิบัติการ 3) กำหนดแผนปฏิบัติการ 4) ปฏิบัติตามแผน 5) นิเทศ สอบถามผลการดำเนินงาน 6) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน พบว่า รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 2) กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน และ 3) กิจกรรมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุ ผลการประเมินการ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง คุณภาพชีวิตทั่วไปและคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องและผู้สูงอายุ หลังการดำเนินงาน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องอยู่ในระดับปานกลาง (Mean 3.13, S.D.=0.81) ระดับคุณภาพชีวิตทั่วไปอยู่ในระดับปานกลาง (Mean 76.30, S.D.=10.18) ระดับคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง (Mean 83.60, S.D.=8.99) ระดับความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องอยู่ในระดับปานกลาง (Mean 3.27, S.D.=0.61) และระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง (Mean 3.35, S.D.=0.56) โดยสรุปสำหรับ ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ 1) มีผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง 2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุ 3) ชุมชนมีส่วนร่วมทุกกระบวนการ 4) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้การสนับสนุนให้กำลังใจ 5) มีทุนทางสังคม 6) การติดต่อประสานงานของเครือข่าย  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุth
dc.subjectmodel developmenten
dc.subjectelderlyen
dc.subjectelderly health promotionen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleDelvelopment of Health Promotion Model among Elderly though Community Participation in  Bang Nok Khwaek sub-district  Municipality,Bang Khonthi, Samut Songkramen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เทศบาลตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011480002.pdf5.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.