Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirisuda Wongyaien
dc.contributorสิริสุดา วงษ์ใหญ่th
dc.contributor.advisorSumattana Glangkarnen
dc.contributor.advisorสุมัทนา กลางคารth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2022-03-24T13:40:54Z-
dc.date.available2022-03-24T13:40:54Z-
dc.date.issued22/12/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1527-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis randomized controlled trial study aimed to study the effectiveness of health literacy promotion on melioidosis prevention behavior of farmers in Kham mwang sub-district, Warin chamrap district, Ubon ratchathani province. The 70 samples assigned to 2 groups which consisted of 35 samples for each group and the two population groups were agriculturists age 20-59 years who grow rice in Kham kwang sub-district, Warin chamrap district, Ubon ratchathani province. Experimental group participated in the health literacy promotion program for 3 weeks. Statistics used for data analysis were Repeated-Measures ANOVA, Mann-Whitney U test and independent sample t-test. The results were as follows the General information, readability, higher health literacy on melioidosis prevention and melioidosis prevention behavior of the experimental group and the comparison group were not statistically different. Immediately after the program and 1 month after the program, the experimental group had the higher health literacy on melioidosis prevention and melioidosis prevention behavior after participating than baseline and higher than the comparison group (p -value < 0.05). When the functional health literacy was divided into 6 skills, most had functional health literacy higher than baseline and more than the comparison group as statistical significantly. (p-value < 0.05), Except for listening and speaking skills were no statistical differences when compare with baseline. The posttest of experimental group higher than baseline and the comparison group as statistical significantly (p-value < 0.05). Conclusion this program able to promote health literacy on melioidosis prevention and improving melioidosis prevention behavior.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุม (Randomized Controlled Trial: RCT) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเมลิออยโดสิสในชาวนาตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือชาวนาที่ทำนาปลูกข้าวที่มีอายุระหว่าง 20 – 59 ปี 70 คน คัดเลือกเป็นกลุ่มศึกษา 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 35 คน โดยใช้เวลาในการจัดกิจกรรม 3 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Repeated-Measures ANOVA ,Mann-Whitney U test และ Independent sample t-test ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลทั่วไป ความสามารถในการอ่าน คะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิสขั้นพื้นฐาน และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิสก่อนการให้โปรแกรมของกลุ่มศึกษาและกลุ่มเปรียบเทียบไม่แตกต่างกันทางสถิติ หลังการให้โปรแกรมทันทีและหลัง 1 เดือน กลุ่มศึกษามีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานเรื่องการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิสในภาพรวมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) เมื่อแบ่งความรอบรู้ด้านสุขภาพพื้นฐานออกเป็น 6 ทักษะ ซึ่งกลุ่มศึกษาส่วนใหญ่มีทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ยกเว้นทักษะความสามารถในการฟังและพูดที่พบว่าก่อนและหลังได้รับโปรแกรมกลุ่มศึกษาไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิสมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  (p-value < 0.05)    สรุปได้ว่า โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิส และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคเมลิออยโดสิสให้ดีขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโรคเมลิออยโดสิสth
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพth
dc.subjectประสิทธิผลของโปรแกรมth
dc.subjectสุขศึกษารายกลุ่มth
dc.subjectชาวนาth
dc.subjectMelioidosisen
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectFarmeren
dc.subjectEffectiveness of programen
dc.subjectGroup health educationen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Effectiveness of Health Literacy Promotion on Melioidosis Prevention Behavior of Farmers in Kham Kwang Sub-district, Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Provinceen
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเมลิออยโดสิสในชาวนาตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011480010.pdf6.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.