Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1530
Title: Solid waste management model by participation of Nong Muang community Sisaket Municipality Sisaket Province
รูปแบบการจัดการมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหนองม่วง เทศบาลเมืองศรีสะเกษ  จังหวัดศรีสะเกษ
Authors: Paweena Pathan
ปวีณา ปาทาน
Vorapoj Promasatayaprot
วรพจน์ พรหมสัตยพรต
Mahasarakham University. The Faculty of Public Health
Keywords: การมีส่วนร่วม
การจัดการมูลฝอยในชุมชน
participation
Community solid waste management
Issue Date:  5
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This action research The objective of this study was to study the solid waste management model of Nong Muang community, Muang District, Sisaket Province. The study was conducted in the target groups involved in community solid waste management, namely 39 hosts or host representatives living in Nong Muang community, 6 people and 15 staff responsible for environmental management collecting both quantitative data and qualitative The tools were created and the data were analyzed using descriptive statistics such as mean, percentage, standard deviation. and qualitatively analyzed the data by content analysis. The results showed that the knowledge about solid waste was at a high level (92.31 percent), attitudes about solid waste were at a good level (89.74 percent), household waste management behaviors were at a good level (97.44 percent), and participation in management was at a high level. The solid waste of Nong Muang community was at a moderate level (x̅ = 2.28). Because people still lack participation in reducing the amount of waste in many dimensions. From the initiation stage to finding problems and causes of solid waste management problems in the community Planning to Solve Solid Waste Management Problems in the Community Community solid waste management operations Thus causing the Nong Muang Ruam Jai project. towards a better community environment by reducing the amount of waste There is more use of the waste. household income This leads to sustainable waste management in Nong Muang community.
การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหนองม่วง เทศบาลเมืองศรีสะเกษ  จังหวัดศรีสะเกษ ทำการศึกษาในกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องในการจัดการมูลฝอยชุมชน คือ เจ้าบ้านหรือตัวแทนเจ้าบ้านที่อาศัยในชุมชนหนองม่วง เครือข่ายการจัดการมูลฝอยในชุมชน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษา พบว่า ด้านความรู้เกี่ยวกับมูลฝอยอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 92.31 ทัศนคติเกี่ยวกับมูลฝอยอยู่ในระดับดี ร้อยละ 89.74 พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนอยู่ในระดับดี ร้อยละ 97.44 และการมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอยของชุมชนหนองม่วงอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 2.28) เนื่องจากประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการลดปริมาณมูลฝอยในหลายมิติ ตั้งแต่ขั้นริเริ่มการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน การวางแผนแก้ไขปัญหาการจัดการมูลฝอยในชุมชน การดำเนินงานการจัดการมูลฝอยในชุมชน จึงก่อให้เกิดโครงการหนองม่วงร่วมใจ สู่สิ่งแวดล้อมชุมชนน่าอยู่ขึ้น โดยสามารถลดปริมาณมูลฝอย มีการนำมูลฝอยมาใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น  สร้างรายได้ในครัวเรือน นำไปสู่การจัดการมูลฝอยอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนหนองม่วงอย่างยั่งยืน
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1530
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011480018.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.