Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1531
Title: The Effectives of Short Messaging for Increasing the Rate of Long-acting Reversible Contraception use in Teenage Pregnancy : A Randomized Controlled Trial
ผลของข้อความสั้นต่อการเพิ่มอัตราการคุมกำเนิดกึ่งถาวรในแม่วัยรุ่น:การทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุม
Authors: Kusuma Meesin
กุสุมา มีศิลป์
Nirun Intarut
นิรันดร์ อินทรัตน์
Mahasarakham University. The Faculty of Medicine
Keywords: แม่วัยรุ่น
การตั้งครรภ์ซ้ำแม่วัยรุ่น
การคุมกำเนิดกึ่งถาวร
ข้อความสั้น
Teenage pregnancy
Repeat pregnant
Long-acting reversible contraception
Text message
Issue Date:  3
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: Background: Reducing teen pregnancy rates is one of the SDGs goals.. Thailand had a teenage pregnancy rate higher in Asia-Pacific from less developed regions. A one of cause is a sex when they was young. This study is aimed to study an effective of a text messaging of teenage pregnant to the long-acting reversible contraception. Materials and Methods: This is a randomized controlled trial. The study was an effective of a text messaging of teenage pregnant to the long-acting reversible contraception. A samples had 2 group from teenage pregnant in Si Sa Ket hospital. The control group was 212 samples. The trail group was 212 samples. Result: The control group had a standard care of postpartum. The trial group had a standard care of postpartum and a text message about long-acting reversible contraception. The researcher were following a both sample. Our research found a group of teenage pregnant who received text message have long-acting reversible contraception rate 71.36%. Its higher than who didn’t received message (49.03%) which is significantly (P-value<0.001). Conclusion: A text message can increases the rate of long-acting reversible contraception in teenage pregnant.
ความเป็นมา:  ลดอัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์เป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของการคลอดในวัยรุ่นสูงกว่าของประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค และอัตราการคลอดในวัยรุ่นของไทยยังคงจัดอยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา (Less developed regions) สาเหตุหนึ่งคือวัยรุ่นเริ่มมีเพศสัมพันธ์ขณะอายุยังน้อย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบประสิทธิผลข้อความสั้นสำหรับแม่วัยรุ่นต่อการคุมกำเนิดกึ่งถาวร รูปแบบการวิจัย:  เป็นการทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุม เพื่อทดสอบประสิทธิผลข้อความสั้นสำหรับแม่วัยรุ่นต่อการคุมกำเนิดกึ่งถาวร กลุ่มตัวอย่างคือแม่วัยรุ่นที่มาคลอด โรงพยาบาลศรีสะเกษ ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มควบคุม จำนวน 212 คน กลุ่มทดลอง จำนวน 212 คน ผลลัพธ์:  กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามมาตรฐาน (Standard Care)  กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามมาตรฐาน (Standard Care) และได้รับโปรแกรมข้อความสั้น ผู้วิจัยติดตามแม่วัยรุ่นทั้ง 2 กลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มแม่วัยรุ่นหลังคลอดที่ได้รับข้อความสั้นมีการคุมกำเนิดกึ่งถาวรร้อยละ 71.36 สูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับข้อความสั้นคุมกำเนิดกึ่งถาวรร้อยละ 49.03 ในระดับที่มีนัยสำคัญ  (ค่า  P-value < 0.001) สรุป:  การใช้ข้อความสั้น เพิ่มอัตราการคุมกำเนิดกึ่งถาวรในแม่วัยรุ่นได้
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1531
Appears in Collections:The Faculty of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59011560002.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.