Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrawit Bootwongen
dc.contributorประวิทย์ บุตรวงษ์th
dc.contributor.advisorNirun Intaruten
dc.contributor.advisorนิรันดร์ อินทรัตน์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Medicineen
dc.date.accessioned2022-03-24T14:52:50Z-
dc.date.available2022-03-24T14:52:50Z-
dc.date.issued2/11/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1533-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractObjective: To test the effects of text messages for promoting physical activities in people with prediabetes. Methods: This is an experiment, a randomized controlled trial was performed in participants with prediabetes. Participants were recruited from a primary care unit. Allocation to the study groups used a stratified block randomization. All participants received physical activity education at baseline. The intervention group additionally received supportive text messages using mobile phone text messages. Participants were assessed at baseline at 8 and 12 weeks. The primary outcome measure was physical activity energy.  Secondary outcomes included weight, BMI, waist circumstance and blood pressure. Results: All participants were included in the analyses (n = 324; control: n = 162; intervention: n = 162). Mean physical activity energy was significantly increased in those who received text messages at the 8 weeks, increasing 1590.73 METs/min/week (95% CI 837.72, 2343.75) in the intervention group and  407.39 METs/min/weeks (95% CI -267.59, 1082.36) in the control group with an adjusted mean difference of -1183 METs/min/weeks (95% CI -2190.11, -176.58, p=0.02). Over the 12 weeks follow-up period, mean physical activity energy did not differ statistically by group. Mixed-model repeated measures analysis of the total physical energy revealed no significant differences, with an adjusted mean difference 273.3 METs/min/week (95% CI -530.64, 1077.21, p=0.513). However, moderate physical energy was significantly increased to 256.40 METs/min/week (95% CI 17.20, 495.63, P=0.040). Conclusion: Text messaging can an effective of physical activity at the 8-week. However, Text messaging no significant in physical activity at 12-week. Further research is needed to identify optimal times to send messages to people with prediabetes.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้ข้อความสั้นเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในผู้มีภาวะเบาหวานแฝง วิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองชนิดมีกลุ่มควบคุม ในอำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีภาวะเบาหวานแฝง จำนวนทั้งหมด 324 ราย โดยแบ่งเป็น กลุ่มทดลองจำนวน 162 และกลุ่มควบคุมจำนวน 162 ราย ผู้เข้าร่วมการศึกษาได้รับการคัดเลือกด้วยการสุ่มแบบกลุ่มตามลำดับชั้น กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและข้อความสั้นสนับสนุนให้มีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานเพียงอย่างเดียว หลังจากอาสาสมัครงานวิจัยได้รับโปรแกรมแล้วมีการติดตามผลการทดลองที่ 8 สัปดาห์และ 12 สัปดาห์หลังโปรแกรมสิ้นสุดลงการวัดผลลัพธ์หลักคือพลังงานทางกาย และผลลัพธ์รองคือ น้ำหนัก ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว ความดันโลหิตช่วงบน และความดันโลหิตช่วงล่าง การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมใช้ Mixed linear model ผลการศึกษา: จากการทดลองพบว่ามีอาสาสมัครงานวิจัยไม่สามารถติดต่อได้จำนวน 2 ราย ทำให้ในการศึกษานี้ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนทั้งหมด 322 คน (กลุ่มทดลอง: n=160; กลุ่มควบคุม: n=162) หลัง ผลการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มทดลองมีพลังงานทางกายเฉลี่ยเพิ่มขื้น 1590.73 METs/min/week (95% CI 837.72, 2343.75)  และกลุ่มควบคุมมีพลังงานทางกายเฉลี่ยเพิ่มขื้น 407.39 METs/min/week (95% CI -267.59, 1082.36) มีพลังงานทางกายแตกต่าง -1183 METs/min/week (95% CI -2190.11, -176.58, P=0.02) การติดตามผลลัพธ์ระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าพลังงานทางกายรวมและพลังงานทางกายแยกระดับตามความหนัก ไม่มีความแตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลการใช้ข้อความสั้นสามารถเพิ่มพลังงานทางกายโดยรวม 273.3 METs/min/week (95% CI -530.64, 1077.21, P=0.513) เพิ่มพลังงานระดับหนัก 131.90 METs/min/week (95%CI  -367.12, 630.85, P=0.611) เพิ่มพลังงานระดับปานกลาง 256.40 METs/min/week (17.20, 495.63, P=0.040) สรุป: การส่งข้อความสั้นสามารถเพิ่มกิจกรรมทางกายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ 8 สัปดาห์ อย่างไรก็ตามข้อความสั้นไม่สามารถเพิ่มกิจกรรมทางกาย ได้อย่างมีนัยสำคัญที่ 12 สัปดาห์ ดังนั้นในอนาคตจึงจำเป็นต้องมีการวิจัยเพิ่มเติมเพื่อระบุช่วงเวลาที่เหมาะสมในการส่งข้อความสั้นเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectข้อความสั้นth
dc.subjectกิจกรรมทางกายth
dc.subjectเบาหวานแฝงth
dc.subjectการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมth
dc.subjectShort messagesen
dc.subjectPhysical activitiesen
dc.subjectPrediabetesen
dc.subjectRandomized controlled trialen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe effects of short message for promoting physical activities in prediabetes persons: a randomized controlled trialen
dc.titleประสิทธิผลการใช้ข้อความสั้นเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในผู้มีภาวะเบาหวานแฝง: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60011560001.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.