Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1576
Title: Development of Creative Leadership Enhancement Program for School Administrators Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6
การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6
Authors: Suebpong Tupluang
สืบพงษ์ ทัพหลวง
Thatchai Chittranun
ธัชชัย จิตรนันท์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: 1. การพัฒนาโปรแกรม
การเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์
Program Development
Building Creative Leadership
Issue Date:  7
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of the research were; 1) to study the current condition Desirable Conditions of Building Creative Leadership of Educational Institution Administrators Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6. The research instruments were current condition questionnaires. Desirable Conditions of Building Creative Leadership. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation, Percentage value. The research population was school administrators and teachers. Under the jurisdiction of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6, there were 1,910 people. The samples used in the research were school administrators and teachers. Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6, total 227 people. 2) For the development of creative leadership enhancement programs for school administrators. Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6. The research instruments were structured interviews. Evaluation of Creative Leadership Enhancement Programs for School Administrators Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6. The tools used in the research were program feasibility assessment form. The population of this research consisted of five experts. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation. The results were as follows 1. Study of current condition Desirable Conditions of Building Creative Leadership of Educational Institution Administrators Under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6, the current state of problem-based learning management found that overall was at a moderate level. And the desirable condition, the necessity for enhancing creative leadership was found overall at the highest level. 2. Development of Creative Leadership Enhancement Program for School Administrators Under the supervision of Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office 6, there are components of guidelines which are 1) Principle and rationale, 2) Objectives, 3) Target group, 4) Form and method of development, 5) Content, 6) Techniques and tools, and 7) Evaluation. Methods for developing creative leadership development include 1) workshop 2) training 3) study visit. The Creative Leadership Development Model consists of 5 models: Model 1, vision, Model 2, consider individuality, Model 3, flexibility and adaptation, Model 4, Creativity, Model 5. Team work. Evaluation results for the creative leadership enhancement program of school administrators Under the Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6, it was found that the overall suitability was at the highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 จำนวน 1,910 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 จำนวน 227 คน 2) เพื่อการพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การประเมินโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของโปรแกรม ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 มีส่วนประกอบของแนวทาง ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) กลุ่มเป้าหมาย 4) รูปแบบและวิธีการพัฒนา 5) เนื้อหา 6) เทคนิคและเครื่องมือ และ7) การประเมินผล วิธีการพัฒนาการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์  ได้แก่ 1) การประชุมเชิงปฏิบัติการ 2) การฝึกอบรม 3) การศึกษาดูงาน Model การพัฒนาการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 5 Model ได้แก่ Model 1 ด้านการมีวิสัยทัศน์ Model 2 ด้านคํานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล Model 3 ด้านการมีความยืดหยุ่นและปรับตัว Model 4 ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ Model 5 ด้านการทํางานเป็นทีม ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1576
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586040.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.